Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ขึ้นเสียง, เสียง, ขึ้น , then ขน, ขึ้น, ขึ้นเสียง, สยง, เสียง .

Eng-Thai Lexitron Dict : ขึ้นเสียง, more than 7 found, display 1-7
  1. ascend : (VI) ; ขึ้น ; Related:ขึ้นสูง ; Syn:upward, go up
  2. ascendant : (ADJ) ; ขึ้น ; Syn:ascending, rising
  3. ascending : (ADJ) ; ขึ้น ; Syn:ascendant, rising
  4. phon- : (PRF) ; เสียง
  5. -phone : (SUF) ; เสียง
  6. phono- : (PRF) ; เสียง
  7. place all one's eggs in one basket : (IDM) ; เสียง ; Syn:have in, put in
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : ขึ้นเสียง, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ขึ้นเสียง, more than 7 found, display 1-7
  1. ขึ้นเสียง : (V) ; raise one's voice ; Related:be in a stern voice ; Syn:เสียงดัง ; Ant:ลดเสียง ; Def:พูดเสียงดังขึ้นด้วยความโกรธ ; Samp:เขาชอบขึ้นเสียงกับเพื่อนเวลาโกรธ โดยที่เขาเองก็ไม่รู้ตัว
  2. ตีเสียง : (V) ; raise one's voice to the superiors when angry ; Syn:ขึ้นเสียง ; Def:ออกเสียงดังด้วยความโกรธ ; Samp:เมื่อไม่ได้ดังใจ น้องคนเล็กมักตีเสียงกับพี่ๆ เพราะโดนตามใจมาตลอด
  3. เสียง : (N) ; vote ; Related:ballot ; Syn:คะแนนเสียง ; Samp:เขาชนะเพราะได้เสียงข้างมาก
  4. เสียง : (N) ; voice ; Related:opinion, view ; Syn:ความเห็น ; Samp:เรื่องนี้ฉันขอไม่ออกเสียง
  5. ตวาด : (V) ; yell ; Related:bawl, bellow, shout, bluster, threaten ; Syn:ตะคอก, ขู่, แผดเสียง, ตะเพิด, ดุ, เอ็ด, คำราม, ขึ้นเสียง ; Def:ขู่เต็มเสียง, คุกคามด้วยแผดเสียง, พูดเสียงดังด้วยความโกรธ ; Samp:แม่ค้าตวาดลูกค้าที่ทำผลไม้ตกพื้น
  6. ขึ้นไป : (V) ; go upward ; Related:up ; Syn:ขึ้น ; Ant:ลงมา ; Def:เคลื่อนออกจากที่ไปสู่ทิศทางข้างบน ; Samp:คุณยายขึ้นไปนอนพักอยู่ข้างบน หลังจากที่ไปหาหมอมาแล้ว
  7. ขึ้น 1 : (V) ; depend on ; Related:subject to ; Syn:ขึ้นอยู่กับ, ขึ้นกับ ; Def:อยู่ในสังกัดหรืออยู่ในอำนาจของสิ่งนั้น ; Samp:นฤมลต้องการลางานไปศึกษาต่อยังต่างประเทศ แต่ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับหัวหน้าว่าจะอนุมัติหรือไม่
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ขึ้นเสียง, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ขึ้นเสียง, more than 5 found, display 1-5
  1. ขึ้นเสียง : ก. ออกเสียงดังด้วยความโกรธ; เทียบเสียงเครื่องดนตรี.
  2. แว้ด : ว. เสียงดังเช่นนั้น เช่น ตวาดแว้ด. (ปาก) ก. ขึ้นเสียง เช่น พูดด้วยดี ๆ กลับมาแว้ดใส่อีก.
  3. ขึ้น : ก. ไปสู่เบื้องบน เบื้องสูง หรือ เบื้องหน้า, ไปสู่เบื้องที่ถือว่าตรงข้าม กับลง; เพิ่มหรือทําให้เพิ่ม เช่น ขึ้นราคา ขึ้นภาษี ราคาขึ้น ภาษีขึ้น; เริ่ม เช่น ขึ้นหนุ่ม ขึ้นบรรทัดใหม่; เอาเข้าไว้เป็นหลักฐาน เช่น ขึ้นทะเบียน ขึ้นทําเนียบ; เอ่ยคําหยาบออกมาด้วยความโกรธ เช่น ขึ้นมึง ขึ้นกู; เกิด, มี, เช่น ฝีขึ้น สนิมขึ้น; นิยมนับถือ,เลื่อมใส, เช่น อาจารย์คนนี้มีคนขึ้นมาก; อยู่ในสังกัด เช่น กรมศิลปากรขึ้นกับ กระทรวงศึกษาธิการ; อืดพอง เช่น ศพขึ้น ท้องขึ้น; ฟู เช่น ขนมขึ้น; แรกปรากฏจากขอบฟ้า เช่น ตะวันขึ้น; งอก เช่น ต้นไม้ขึ้น; มีโชค จะทําอะไรก็ประสบผล เช่น มือขึ้น ชะตาขึ้น; ก่ง เช่น ขึ้นธนู; ขึง เช่น ขึ้นกลอง ขึ้นฆ้อง; เริ่มเดินเป็นครั้งแรก เช่น ขึ้นขุน ขึ้นโคน; ทําให้เป็น รูปร่าง เช่น ขึ้นรูป ขึ้นกระบุง; เอาเช็คเป็นต้นไปขอรับเป็นตัวเงินจาก ธนาคาร เรียกว่า ขึ้นเงิน; เอาเข้าเก็บไว้ เช่น ขึ้นคลัง; (ปาก) แล่นไปตาม ทางจากใต้ไปเหนือ เช่น รถขึ้น ขาขึ้น. น. ข้างขึ้น เช่น ขึ้นคํ่าหนึ่ง ขึ้น ๒ คํ่า.
  4. ขึ้น : ว. ใช้ประกอบคําอื่นเพื่อเน้นความให้เด่นหรือให้ชัดแจ้งกว่าเดิม เช่น เกิดขึ้น เป็นขึ้น สวยขึ้น สูงขึ้น; เป็นคําประกอบท้าย หมายความว่า มากกว่าเดิม เช่น ดีขึ้น เร็วขึ้น อ้วนขึ้น; เป็นไปตามคําที่ยอหรือยุเป็นต้น เช่น ยกขึ้น ยุขึ้น หนุนขึ้น; ดูสวยกว่าตัวจริง เช่น แต่งตัวขึ้น ถ่ายรูปขึ้น; มีเหตุผลสมควร เช่น ฟังขึ้น, ถ้าใช้ในความปฏิเสธ เช่น เถียงไม่ขึ้น หมายความว่า เถียงไม่ชนะ.
  5. ภาษา : น. ถ้อยคำที่ใช้พูดหรือเขียนเพื่อสื่อความของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน หรือเพื่อสื่อความเฉพาะวงการ เช่น ภาษา ราชการ ภาษากฎหมาย ภาษาธรรม; เสียง ตัวหนังสือ หรือกิริยา อาการที่สื่อความได้ เช่น ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาท่าทาง ภาษามือ; (โบ) คนหรือชาติที่พูดภาษานั้น ๆ เช่น มอญ ลาว ทะวาย นุ่งห่มและ แต่งตัวตามภาษา. (พงศ. ร. ๓); (คอม) กลุ่มของชุดอักขระ สัญนิยม และกฎเกณฑ์ที่กำหนดขึ้นเพื่อสั่งงานคอมพิวเตอร์ เช่น ภาษาซี ภาษา จาวา; โดยปริยายหมายความว่าสาระ, เรื่องราว, เนื้อความที่เข้าใจกัน, เช่น ตกใจจนพูดไม่เป็นภาษา เขียนไม่เป็นภาษา ทำงานไม่เป็นภาษา.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ขึ้นเสียง, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ขึ้นเสียง, more than 5 found, display 1-5
  1. โสตสัมผัสสชาเวทนา : เวทนาที่เกิดขึ้นเพราะโสตสัมผัส, ความรู้สึกที่เกิดขึ้นเพราะการที่หู เสียง และโสตวิญญาณกระทบกัน
  2. อุปาทายรูป : รูปอาศัย, รูปที่เกิดสืบเนื่องจากมหาภูตรูป, อาการของมหาภูตรูป ตามหลักฝ่ายอภิธรรมว่า มี ๒๔ คือ ก) ประสาท หรือ ปสาทรูป ๕ ได้แก่ จักขุ ตา, โสต หู, ฆาน จมูก, ชิวหา ลิ้น, กาย, มโน ใจ, ข) โคจรรูป หรือ วิสัยรูป (รูปที่เป็นอารมณ์) ๕ ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ (โผฏฐัพพะ ไม่นับเข้าจำนวน เพราะตรงกับปฐวี เตโช วาโย ซึ่งเป็นมหาภูตรูป) ค) ภาวรูป ๒ ได้แก่ อิตถีภาวะ ความเป็นหญิง และปุริสภาวะ ความเป็นชาย ง) หทัยรูป ๑ คือ หทัยวัตถุ หัวใจ จ) ชีวิตรูป ๑ คือ ชีวิตินทรีย์ ภาวะที่รักษารูปให้เป็นอยู่ ฉ) อาหารรูป ๑ คือกวฬิงการาหาร อาหารที่กินเกิดเป็นโอชา ช) ปริจเฉทรูป ๑ คือ อากาศธาตุ ช่องว่าง ญ) วิญญัติรูป ๒ คือ กายวิญญัติ ไหวกายให้รู้ความ วจีวิญญัติ ไหววาจาให้รู้ความ คือพูดได้ ฎ) วิการรูป ๕ อาการดัดแปลงต่างๆ ได้แก่ ลหุตา ความเบา, มุทุตา ความอ่อน, กัมมัญญตา ความควรแก่งาน, (อีก ๒ คือ วิญญัติรูป ๒ นั่นเอง ไม่นับอีก) ฏ) ลักขณรูป ๔ ได้แก่ อุปจยะ ความเติบขึ้นได้, สันตติ สืบต่อได้, ชรตา ทรุดโทรมได้, อนิจจตา ความสลายไม่ยั่งยืน (นับโคจรรูปเพียง ๔ วิการรูป เพียง ๓ จึงได้ ๒๔); ดู มหาภูต ด้วย
  3. ขึ้นวัตร : โวหารเรียกวินัยกรรมเกี่ยวกับวุฏฐานวิธีอย่างหนึ่ง คือเมื่อภิกษุต้องครุกาบัติชั้นสังฆาทิเสสแล้วอยู่ปริวาส ยังไม่ครบเวลาที่ปกปิดอาบัติไว้หรือประพฤติมานัตอยู่ยังไม่ครบ ๖ ราตรี พักปริวาสหรือมานัตเสียเนื่องจากมีเหตุอันสมควร เมื่อจะสมาทานวัตรใหม่เพื่อประพฤติปริวาสหรือมานัตที่เหลือนั้น เรียกว่าขึ้นวัตรคือการสมาทานวัตรนั่นเอง ถ้าขึ้นปริวาสพึ่งกล่าวคำในสำนักภิกษุรูปหนึ่งว่า ปริวาสํ สมาทิยามิ ข้าพเจ้าขึ้นปริวาส วตฺตํ สมาทิยามิ ข้าพเจ้าขึ้นวัตร
  4. ขึ้นปาก : เจนปาก, คล่องปาก, ว่าปากเปล่าได้อย่างว่องไว
  5. สุรสิงหนาท : การเปล่งเสียงพูดอย่างองอาจกล้าหาญ หรือพระดำรัสที่เร้าใจปลุกให้ตื่นฟื้นสติขึ้น เหมือนดั่งเสียงบันลือของราชสีห์ เช่นที่พระพุทธเจ้าตรัสว่า “กิจอย่างใด อันพระศาสดาผู้เอ็นดู แสวงประโยชน์ เพื่อสาวกทั้งหลายจะพึงทำ กิจนั้นอันเราทำแล้วแก่พวกเธอทุกอย่าง”
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ขึ้นเสียง, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ขึ้นเสียง, more than 5 found, display 1-5
  1. จงฺการ จงฺโคร : (ปุ.) นกกะปูด (ขนปีกแข็งอก ดำ ร้องเสียงปูดๆ เวลาน้ำขึ้น) นกปูด หรือ นกกดปูด ก็เรียก, นกออก, นกกาน้ำ, นก โพระดก.
  2. อนุจฺจาริต : ค. ไม่ออกเสียง, ไม่ถูกยกขึ้น
  3. อุกฺกฏฺฐ : (ปุ.) เสียงอันบุคคลกล่าว, เสียงอัน บุคคลเปล่งขึ้น, เสียงโห่.
  4. อุจฺจาเรติ : ก. เปล่งเสียง, ชูขึ้น
  5. อุตฺตริ : (วิ.) ยิ่ง, ยอดเยี่ยม, ชั้นเยี่ยม, แปลก, มากขึ้น, อุตริ. คำ อุตริ ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยออกเสียงว่า อุดตะหริ ใช้ใน ความหมายว่า แปลกออกไป นอกแบบ นอกทาง.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ขึ้นเสียง, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ขึ้นเสียง, more than 5 found, display 1-5
  1. เสียง : ธนิ, สทฺโท
  2. กริ๋ง ๆ (เสียง) : กิณกิณายติ, กึกิณายติ [ก.]
  3. กังวาน (เสียง) : อนุรว [ป.]
  4. กระจายไป, เหาะขึ้น : อพฺภุคฺคจฺฉติ [ก.]
  5. กระโดดขึ้น, ลอย, โผล่ : อุปฺปิลวติ [ก.]; อุลฺลงฺฆติ [ก.]
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ขึ้นเสียง, more results...

(0.6098 sec)