Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: คณะ , then คณ, คณะ, คณา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : คณะ, 69 found, display 1-50
  1. คณ : (ปุ.) การนับ, การคำนวณ, หมวด, หมู่, ฝูง, พวก, ปนะชุม, หมู่แห่งภิกษุ, คณะ (กลุ่มชนกลุ่มหนึ่งๆ หรือแผนกหนึ่งๆของ มหาวิทยาลัย). วิ. คณียติ อวยเวน สหาติ คโณ. คณฺ สํขฺยาเณ, อ.
  2. กร : (ปุ.) บุคคลผู้ทำ, แขน, มือ, งวง, กาย, หมวด, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, ฝูง. กรฺ กรเณ, อ. ส. กร.
  3. คุมฺพ : (ปุ.) กอ, กอไม้, พง, พุ่ม, พุ่มไม้, ซุ้ม ไม้, สุมทุม (ซุ้มไม้ที่ปกคลุมด้วยต้นไม้ และเถาวัลย์) หมู่, พวก, ฝูง, ประชุม, กอง, คณะ, กลุ่มก้อน, กองทหาร, ขบวนทัพ, เสา. คุปฺ รกฺขเณ, โพ, ปสฺส โม. คุมฺพฺ คุมฺพเน วา, อ.
  4. จย : (ปุ.) การก่อ, การสะสม, การรวบรวม, ความสะสม, ความรวบรวม, ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, หมวด, ดินที่ถม อุ. จโย ปริปตติ. ดินที่ถมพังทะลาย. จิ จเย, อ.
  5. นิกาย : (ปุ.) ที่อยู่, เรือน. วิ. นิจิยฺยเตฉาทิยเตตี นิกาโย. นิปุพโพ, จิ จเย, โย. แปลง จิ เป็น กาในเพราะยปัจ. ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, สภา, บริษัท, นิกาย ชื่อหมวด คัมภีร์ในพระสุตตันตปิฎก มี ๕ นิกาย คือ ๑. ทีฆนิกาย ๒. มัชฌิมนิกาย ๓. สังยุตตนิกาย ๔. อังคุตตรนิกาย และ ๕. ขุททกนิกาย ชื่อหมู่ชนผู้มีธรรมร่วม กันประพฤติธรรมร่วมกัน เช่น มหานิกาย. วิ. นิพฺพิเสเสน จิโนติ อวยเวติ นิกาโย. กุลํ สธมฺมีนํ สมานธมฺมานเมว ชนฺตูนํ คโณ นิกาโย นาม. ส. นิกาย.
  6. วคฺค : ป. วรรค, พรรค, หมู่, คณะ; วรรคตอนของหนังสือ
  7. สมิติ : (อิต.) ฝูง, หมวด, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, สังคม. วิ. สหาวยเวน เอตีติ สมิติ, สหปุพฺโพ, อิ คติมฺหิ, ติ.
  8. สมุจฺจย : (ปุ.) การก่อขึ้นพร้อม, การสะสม, การสั่งสม, การรวบรวม, การพอกพูน, ความก่อขึ้นพร้อม, การประมวล, ฯลฯ, ฝูง, หมวด, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, ชุมนุม, สมุจจัย. วิ. สห อุจฺจียนฺเตติ
  9. นิจย : (ปุ.) อันสะสม, อันรวบรวม, การสะสม, การรวบรวม, ความสะสม, ความรวบรวม, ฝูง, หมวด, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ นิปุพฺโพ, จิ จเย, อ. ส. นิจย.
  10. ชาต : (ปุ. นปุ.) ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ. ชนฺ ชนเน, โต. แปลง ชนฺ เป็น ชา กัจฯ ๕๘๕ ว่า แปลงพยัญชนะที่สุดธาตุ เป็น อา.
  11. ทูตานุทูต : (ปุ.) ทูตและทูตตาม. ทูตใหญ่และทูตน้อย, ทูตานุทูต (ทูตใหญ่น้อย คณะ ทูต).
  12. นิกร : (ปุ.) ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, หมวด, คณะ. วิ. อวยวํ สมีเป กโรตีติ นิกโร. ส. นิกร.
  13. นิวห : (ปุ.) ฝูง, หมู่ พวก, ประชุม, กอง, คณะ. นิปุพฺโพ, วหฺ ปาปุณเน, อ. วิ. นิสฺเสสโต วหติ อวยวนฺติ นิวโห. ส. นิวห.
  14. พฺยุห : (ปุ.) กระบวน, ขบวน, กระบวนทัพ, กองทัพ, ฝูง, หมวด, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ. วิปุพฺโพ, อูหฺ สมฺปิณฺฑเน, อ. แปลง อิ เป็น ย วฺ เป็น พฺ รัสสะ อู เป็น อุ.
  15. สนฺโทห : (ปุ.) ฝูง, หมวด, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ. วิ. สหาวยเวน ทูหยตีติ สนฺเทโห. ทุหฺ ปปูรเณ, โณ. ส. สนฺโทห.
  16. สนฺนิจย : (ปุ.) ฝูง, หมวด, หมู่ พวก, ประชุม, กอง, คณะ.
  17. สมย : (ปุ.) ขณะ, ครั้ง, ครา, คราว, หน, กาล, เวลา, ฤดู, โอกาส. วิ. สํ ปุนปฺปุนํ เอติ อยติ วาติ สมโย. สํปุพฺโพ, อิ อยฺ วา คติยํ, อ. การได้, การถึง, การเห็น, ความเห็น, ลัทธิ, มติ, ทิฏฐิ, ความพร้อมเพรียง, ความพร้อมเพรียงแห่งเหตุ, การณะ, เหตุการประชุม, หมวด, หมู่, กอง, คณะ. วิ. สมนฺตโต อยนํ คติ สมโย. การแทงตลอด, ฯลฯ. วิ. สํสุฎชุ สมฺมา วา อวิปริตากาเรน อยิตพฺโพ ญาตพฺโพติ สมโย. การละ, การสละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง. ส. สมย.
  18. โอฆ : (ปุ.) ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, หมวด, กอง, คณะ. อวปุพฺโพ, หนฺ คติยํ, อ, หนสฺสโฆ. อุจฺ สมวาเย วา, โณ, จสฺสโฆ. ส. โอฆ.
  19. คณพนฺธิก : ค. ซึ่งพัวพันด้วยหมู่คณะ
  20. คณโภชน : (นปุ.) โภชนะเป็นคณะ, การฉันเป็น หมู่. ภิกษุตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปรับนิมนต์ ออกชื่อโภชนะ คือทายกทายิกา นิมนต์ โดยออกชื่ออาหาร เช่นกล่าวว่า นิมนต์ฉันแกงไก่ แล้วภิกษุไปฉัน เรียกว่าคณะโภชนะ (ฉันเป็นคณะ). โภชนวรรคสิกขาบทที่ ๒ ไตร. ๒/๓๑๓.
  21. คณสงฺคนิกา : อิต. ความปรารถนาจะอยู่กับหมู่คณะ
  22. คณาราม : ป. ผู้ยินดีในหมู่คณะ
  23. คณารามตา : อิต. ความเป็นผู้ยินดีในหมู่คณะ
  24. คณี : (ปุ.) คณีใช้เป็นพระนามของพระพุทธเจ้า แปลว่าทรงมีคณะคือหมู่แห่งพระสงฆ์.
  25. ทิชคณ : ป. คณะแห่งพราหมณ์, หมู่พราหมณ์หรือฝูงนก
  26. เทวคณ : ป. คณะเทพ, หมู่เทวดา
  27. กลาป : (ปุ.) คณะ, ฝูง, หมู่, พวก, กอง, ประชุม. วิ. กลํ อวยวํ ปาตีติ กลาโป. กลปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, อ. ส. กลาป. กลาป
  28. ฉนฺโทวิจิติ : (อิต.) ฉันโทวิจิติ ชื่อวิธีเรียนพระเวท อย่าง ๑ ใน ๖ อย่าง คือรู้จัก คณะฉันท์ และแต่งฉันท์ได้.
  29. ฉายา : (อิต.) เค้า คือสิ่งที่เป็นเครื่องกำหนด หมายให้รู้ สิ่งที่ส่อแสดงให้รู้ว่ามีลักษณะ เหมือนสิ่งอื่น, ความไม่มีแดด, เงา, ร่ม (บริเวณที่ไม่ถูกแดดไม่ถูกฝน), รูป, รูป เปรียบ, แสงสว่าง, ฉายา คือ ชื่อที่พระ – อุปัชฌายะตั้งให้เป็นภาษามคธเมื่ออุปสม – บท. วิ. เฉติ สํสยนฺติ ฉายา. ฉา เฉทเน, โย. ฉินฺทติ ปริสฺสมนฺติ วา ฉายา. ไทยใช้ เรียกชื่อภาษาไทยที่ตั้งกันเล่นๆตามลักษ – ณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ เช่น เปี๊ยก ว่ามี ฉายาว่า นายเปี๊ยก นอกจากนี้ยังหมายถึง นางผู้โฉมงามหรือเมียอีกด้วย.
  30. ญาติสงฺฆ : ป. หมู่ญาติ, คณะญาติ
  31. ฐานานุกฺกม : (ปุ.) อันก้าวไปตามซึ่งตำแหน่ง, ความก้าวไปตามฐานะ, ฐานานุกรม ชื่อ ลำดับตำแหน่งสมณศักดิ์พระสงฆ์ ซึ่งพระ ราชาคณะมีอำนาจตั้งสมณศักดิ์ให้ตามที่ ท่านได้มาเมื่อรับพระราชทานสมณศักดิ์.
  32. ทาลคณ : ป. คณะแห่งทาส, หมู่ทาส, กลุ่มทาส
  33. ทาสีคณ : ป. คณะแห่งนางทาสี, หมู่นางทาสี, กลุ่มนางทาสี
  34. ธมฺมคณ : ป. หมวดแห่งธรรม, หมู่ธรรม, คณะธรรม
  35. ธมฺมยุตฺติกนิกาย : (ปุ.) ธรรมยุติกนิกาย ชื่อ นิกายสงฆ์ไทยฝ่ายเถรวาท ซึ่งเริ่มขึ้นในรัชกาลที่๓ ตั้งเป็นนิกายชัดเจนในรัชกาลที่ ๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์. เมื่อนิกายนี้เกิดขึ้น จึงเรียกคณะสงฆ์ไทยดั้งเดิมว่ามหานิกาย.
  36. นวโกวาท : (ปุ.) โอวาทเพื่อภิกษุใหม่, คำสั่ง สอนสำหรับภิกษุและสามเณรผู้บวชใหม่, นวโกวาท ชื่อหนังสือเล่ม ๑ ซึ่งทางคณะ สงฆ์ประกาศใช้เป็นหลักสูตรนักธรรมชั้น ตรีและธรรมศึกษาชั้นตรี (ธ.ศ. ตรีนั้น ใช้เฉพาะส่วนธรรมวิภาคและคิหิปฏิบัติ).
  37. นานาสวาสก : ค. ผู้อยู่ร่วมในธรรมวินัยต่างกัน, ผู้อยู่ในคณะต่างกัน
  38. นิติปุคฺคล : (ปุ.) บุคคลโดยกฎหมาย, บุคคล ตามกฎหมาย, นิติบุคคล. ไทย นิติบุคคล หมายถึงองค์การหรือคณะบุคคล ซึ่ง กฎหมายสมมุติให้เป็นบุคคลมีสิทธิและ หน้าที่ที่กำหนดไว้ตามกฎหมาย.
  39. นิวากต : (นปุ.) มหรสพ (การกระทำคือแสดง ของคณะ). นิวห+กต แปลง ห เป็น อา.
  40. ปูค : (ปุ.) หมาก. ปูชฺ ปูชายํ, โณ. แปลง ช เป็น ค. และแปลว่า ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะด้วย.
  41. มมงฺการ : (ปุ.) อภิมนะเป็นที่กระทำว่าของเรา, อภิมานะเป็นที่กระทำว่าของของเรา, ความถือตัวว่าเป็นของเรา, ความถือว่าของเรา, มมังการ เป็นกิเลสชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นแล้วทำให้ถือก๊กถือพวก เป็นเหตุให้แตกสามัคคี เกิดความแตกร้าวในหมู่คณะ เป็นกิเลสคู่กับอหังการ คือถือตัวหยิ่ง ยโส.
  42. มหากาย : (ปุ.) กายใหญ่, กายล่ำสัน, หมู่ใหญ่, คณะใหญ่, พวกมาก.
  43. มหานิกาย : (ปุ.) หมุ่ใหญ่, หมู่มาก, มหานิกาย เป็นคำเรียกคณะสงฆ์ไทยฝ่ายดั้งเดิม คำนี้เกิดขึ้นเมื่อตั้งคณะสงฆ์ธรรมยุตติกนิกายแล้ว จึงเรียาสงฆ์ที่มีอยู่ดั้งเดิมว่า มหานิกาย.
  44. มหายาน : (ปุ.) มหายาน ชื่อนิกายของคณะสงฆ์ในพระพุทธเจ้าศาสนาฝ่ายเหนือ เช่น ประเทศจีน ญวน ญี่ปุ่น เป็นต้น คู่กันกับหีนยาน ซึ่งเป็นนิกายของคณะสงฆ์ฝ่ายใต้ ดู หินยาน ด้วย.
  45. รฏฺฐปาล : (ปุ.) บุคคลผู้ปกครองบ้านเมือง, คณะบุคคลผู้ปกครองบ้านเมือง, รัฐบาล (องค์การปกครองบ้านเมือง องค์การบริหารบ้านเมือง).
  46. ราชกมฺมิก : ป. ราชอำมาตย์ , คณะของพระราชา
  47. อธิการ : (ปุ.) คุณอันบุคคลพึงกระทำยิ่ง, คุณวิ-เศษเครื่องทำยิ่ง. ภาระ, หน้าที่, การปกครอง, การบังคับบัญชา, เรียกเจ้าอาวาสซึ่งมิได้เป็นเจ้าคณะว่าพระอธิการเรียก ผู้อำนวยการวิทยาลัยว่าอธิการถ้าเป็นมหาวิทยาลัยเรียกว่าอธิการบดี.ส. อธิการ.
  48. อสมฺโภค : ป. การไม่อยู่ร่วมกัน, การไม่อยู่ร่วมหมู่คณะ
  49. อุกฺขิตฺตก : ค. ผู้ถูกสงฆ์ยกวัตร, ผู้ถูกลงโทษด้วยการยกออกเสียจากคณะ คือไม่ให้สมโภคร่วมกับสงฆ์
  50. อุกฺเขปนีย : ค. ควรแก่การลงโทษโดยการยกออกเสียจากคณะ
  51. [1-50] | 51-69

(0.0237 sec)