Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: คลายอารมณ์, อารมณ์, คลาย , then คลาย, คลายอารมณ์, อารมณ, อารมณ์ .

Eng-Thai Lexitron Dict : คลายอารมณ์, more than 7 found, display 1-7
  1. sentiment : (N) ; อารมณ์ ; Related:ความรู้สึก, สภาพอารมณ์ ; Syn:feeling, emotion, sensibility
  2. temperament : (N) ; อารมณ์ ; Related:การแสดงออกทางอารมณ์, นิสัยใจคอ ; Syn:disposition, temper, mood
  3. affection : (N) ; อารมณ์
  4. humor : (N) ; อารมณ์
  5. loosen : (VI) ; คลาย ; Related:หลวม
  6. mood : (N) ; อารมณ์ ; Related:ใจคอ ; Syn:temper, humor, disposition
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : คลายอารมณ์, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : คลายอารมณ์, more than 7 found, display 1-7
  1. คลายอารมณ์ : (V) ; relax ; Related:rest, feel at ease, calm ; Syn:ผ่อนคลายอารมณ์ ; Samp:วัดมีลานกว้างให้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่บ้านใกล้วัดไปเล่นกีฬาพักผ่อนคลายอารมณ์ในยามว่าง
  2. ปล่อยอารมณ์ : (V) ; relax ; Syn:คลายอารมณ์ ; Def:คิดล่องลอยไปตามเรื่อง ; Samp:ชายชราปล่อยอารมณ์คิดคำนึงถึงเรื่องในอดีตที่สวยงาม
  3. คลาย : (V) ; loosen ; Related:become loose, unroll, unwind, unravel, slacken, relax ; Syn:ขยาย ; Ant:รัด ; Def:ขยายให้หลวม ; Samp:การช่วยผู้ป่วยหมดสติกลางแจ้ง ต้องรีบนำผู้ป่วยเข้าร่มและคลายเครื่องแต่งกายให้หลวม
  4. คลาย : (V) ; relieve ; Related:alleviate, lighten, assuage ; Syn:ลดลง, ทุเลา, บรรเทา, เบาบางลง ; Ant:รุนแรง ; Samp:ความตึงเครียดของบรรยากาศทางการเมืองได้คลายลงแล้ว
  5. อารมณ์ : (N) ; temper ; Related:feeling, mood ; Syn:จิตใจ, ความรู้สึก ; Def:สภาพของจิตใจ ; Samp:ฉันไม่อยู่ในอารมณ์ที่จะทำงาน
  6. อารมณ์ : (N) ; (taking into) consideration ; Related:(taking to) mind heart, (taking into) consideration ; Syn:เครื่องยึดหน่วง ; Samp:อย่าเอาเรื่องเช่นนี้มาเป็นอารมณ์ดีกว่า
  7. อารมณ์ : (N) ; characteristics ; Related:behavior ; Syn:นิสัยใจคอ ; Samp:คนที่เป็นคนอารมณ์ตลอดเวลาจะเป็นที่รักชอบของเพื่อน
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : คลายอารมณ์, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : คลายอารมณ์, more than 5 found, display 1-5
  1. คลาย : [คฺลาย] ก. ทำให้หลวม, ขยายให้หลวม, เช่น คลายนอต คลายเกลียวเชือก; ลดลง, ทุเลา, บรรเทาลง, เช่น คลายทุกข์ คลายรัก พิษไข้คลาย คลายกังวล.
  2. อารมณ์ : น. สิ่งที่ยึดหน่วงจิตโดยผ่านทางตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ เช่น รูปเป็นอารมณ์ของตา เสียงเป็นอารมณ์ของหู, เครื่องยึดถือเป็นจริง เป็นจัง เช่น เรื่องนี้อย่าเอามาเป็นอารมณ์เลย; ความรู้สึกทางใจที่ เปลี่ยนแปลงไปตามสิ่งเร้า เช่น อารมณ์รัก อารมณ์โกรธ อารมณ์ดี อารมณ์ร้าย; อัธยาศัย, ปรกตินิสัย, เช่น อารมณ์ขัน อารมณ์เยือกเย็น อารมณ์ร้อน; ความรู้สึก เช่น อารมณ์ค้าง ใส่อารมณ์, ความรู้สึกซึ่ง มักใช้ไปในทางกามารมณ์ เช่น อารมณ์เปลี่ยว เกิดอารมณ์. ว. มี อัธยาศัย, มีปรกตินิสัย, เช่น เขาเป็นคนอารมณ์เยือกเย็น เขาเป็นคน อารมณ์ร้อน. (ป. อารมฺมณ).
  3. หย่อนใจ, หย่อนอารมณ์ : ก. คลายอารมณ์, พักผ่อน.
  4. หย่อน : ก. ไม่ตึง, ผ่อนไม่ให้ตึง, ค่อย ๆ ผ่อนลงมาจากที่สูง; ถอย เช่น หย่อนกําลัง, คลาย เช่น หย่อนอารมณ์, ทุเลา เช่น ลดหย่อน; เบาลง, น้อย, ไม่เต็ม, เช่น กิโลหย่อนไป ๒ ขีด บาทหย่อนสลึง หย่อนสมรรถภาพ.
  5. คลายคล้าย, คล้ายคล้าย : ก. เคลื่อนเรื่อย ๆ ไป, คล้อย, เช่น หมอมิกลัวกลาย จระคล่าย เข้าป่าไปคลายคล้ายด่วนดั้นโดยทาง. (ลอ), คลี่ไคลพลคล้ายคล้าย แลนา. (ลอ); (ถิ่น-พายัพ) ย้าย. (อะหม คล้ายคล้าย ว่า โดยลําดับ).
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : คลายอารมณ์, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : คลายอารมณ์, more than 5 found, display 1-5
  1. อารมณ์ : เครื่องยึดหน่วงของจิต, สิ่งที่จิตยึดหน่วง, สิ่งที่ถูกรู้หรือถูกรับรู้ ได้แก่ อายตนะภายนอก ๖ คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และ ธรรมารมณ์; ในภาษาไทย ความหมายเลื่อนไปเป็นความรู้สึก หรือความเป็นไปแห่งจิตใจ ในขณะหรือช่วงเวลาหนึ่งๆ เช่นว่า อย่าทำตามอารมณ์ วันนี้อารมณ์ดี อารมณ์เสีย เป็นต้น
  2. ปัสสัทธิ : ความสงบกายสงบใจ, ความสงบใจและอารมณ์, ความสงบเย็น, ความผ่อนคลายกายใจ (ข้อ ๕ ในโพชฌงค์ ๗)
  3. โสภณเจตสิก : เจตสิกฝ่ายดีงาม มี ๒๕ แบ่งเป็น ก.โสภณสาธารณเจตสิก (เจตสิกที่เกิดทั่วไปกับจิตดีงามทุกดวง) ๑๙ คือ สัทธา สติ หิริ โอตตัปปะ อโลภะ อโทสะ ตัตรมัชฌัตตตา (ความเป็นกลางในอารมณ์นั้น ๆ = อุเบกขา) กายปัสสัทธิ (ความคลายสงบแห่งกองเจตสิก) จิตตปัสสัทธิ (แห่งจิต) กายลหุตา (ความเบาแห่งกองเจตสิก) จิตตลหุตา (แห่งจิต) กายมุทุตา (ความนุ่มนวลแห่งกองเจตสิก) จิตตมุทุตา (แห่งจิต) กายกัมมัญญตา (ความควรแก่งานแห่งกองเจตสิก) จิตตกัมมัญญตา (แห่งจิต) กายปาคุญญตา (ความคล่องแคล่วแห่งกองเจตสิก) จิตตปาคุญญตา (แห่งจิต) กายชุกตา (ความซื่อตรงแห่งกองเจตสิก) จิตตุชุกตา (แห่งจิต) ข.วีรตีเจตสิก (เจตสิกที่เป็นตัวงดเว้น) ๓ คือ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ ค.อัปปมัญญาเจตสิก (เจตสิกคืออัปปมัญญา) ๒ คือ กรุณา มุทิตา (อีก ๒ ซ้ำกับอโทสะและตัตรมัชฌัตตตา) ง.ปัญญินทรียเจตสิก ๑ คือ ปัญญินทรีย์ หรือ อโมหะ
  4. บรรเทา : ทำให้สงบ, คลาย, เบาลง, ทำให้เบาลง, ทุเลา
  5. วิสัย : ภูมิ, พื้นเพ, อารมณ์, เขต, แดน, ลักษณะที่เป็นอยู่, ไทยใช้ในความหมายว่า ขีดขั้นแห่งความเป็นไปได้ หรือขอบเขตความสามารถ
  6. Budhism Thai-Thai Dict : คลายอารมณ์, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : คลายอารมณ์, more than 5 found, display 1-5
  1. นิรชติ : ก. ไล่ออก, ทำให้สูญหาย, คลาย
  2. กุสลเจตสิก : (วิ.) (ธรรม อารมณ์) อันเกิดกับจิตที่เป็นอกุศล.
  3. ชีวิตินฺทฺริยารมฺมณ : (วิ.) มีอินทรีย์คือชีวิตเป็น อารมณ์.
  4. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  5. ตณฺหา : (อิต.) ความกระหาย, ความระหาย, ความอยาก, ความอยากได้, ความทะยาน (ดิ้นรน), ความทะยานอยาก (อยากได้ อยากมี อยากเป็น), ความกำหนัด (ความใครในกามคุณ), ความว่องไว (ใน อารมณ์), ความสน (นิ่งอยู่ไม่ได้), ความดิ้นรน, ความปรารถนา (ในกาม), ความเสน่หา (ติดพัน), ความแส่หา (ดิ้นรน), โลภ ความโลภ (อยากใคร่ในอารมณ์), ดำฤษณา, ตฤษณา. วิ. ตสนํ ตณฺหา. ยาย วา ตสนฺติ สา ตณฺหา ตสฺ ปิปาสายํ, ณฺห, สโลโป. ตสติ ปาตุ มิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ตสติ ปาปํ อิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ห ปัจ แปลง ณ. ส. ตฤษณา
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : คลายอารมณ์, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : คลายอารมณ์, 2 found, display 1-2
  1. คลายฤทธิ์ : อิทฺธิยา วิสฺสฏฺฐ
  2. เสวยอารมณ์ : เวทนีย

(0.2332 sec)