Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความเท่าเทียม, เทียม, เท่า, ความ .

Eng-Thai Lexitron Dict : ความเท่าเทียม, more than 7 found, display 1-7
  1. equation : (N) ; ความเท่าเทียมกัน ; Related:ความสมดุล ; Syn:balance, equality, equivalence
  2. nonequivalence : (N) ; ความไม่เท่าเทียมกัน ; Related:ความไม่เสมอภาค
  3. equalitarian : (ADJ) ; เกี่ยวกับความเชื่อที่ว่าตามหลักการแล้วทุกๆ คนเท่าเทียมกัน ; Related:เกี่ยวกับความเชื่อที่ว่าทุกๆ คนเสมอภาคกัน ; Syn:egalitarian
  4. isodynamic : (ADJ) ; เกี่ยวกับความเท่าเทียมกันทางกำลังอำนาจ
  5. Eng-Thai Lexitron Dict : ความเท่าเทียม, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ความเท่าเทียม, more than 7 found, display 1-7
  1. ความเท่าเทียม : (N) ; equality ; Related:balance, justice, coequality ; Syn:ความเสมอภาค, ความยุติธรรม, ความทัดเทียม ; Ant:ความไม่เท่าเทียม ; Samp:ยุคประชาธิปไตยใครๆ ก็เรียกร้องความเท่าเทียมกันในสังคม
  2. ความเสมอ : (N) ; equality ; Related:parity ; Syn:ความเท่าเทียม
  3. ความเท่าเทียมกัน : (N) ; equality ; Related:impartiality, fairness ; Syn:ความทัดเทียม, ความเสมอภาค ; Samp:หญิงไทยได้รับการยกย่องให้มีความเท่าเทียมกันกับชาย
  4. ความทัดเทียม : (N) ; equality ; Syn:ความเท่าเทียม, ความเสมอภาค ; Ant:ความไม่เท่าเทียม ; Samp:ผู้หญิงต้องการความทัดเทียมเท่ากับผู้ชาย
  5. ดุลภาค : (N) ; equity ; Related:equality, state of balance, equilibrium ; Syn:ความเท่าเทียม, ความเสมอกัน, ความสมดุล, ความเสมอภาค
  6. ความ : (N) ; content ; Related:information ; Syn:เนื้อความ, เรื่อง ; Samp:ผมให้แปลเอาความเท่านั้น ไม่ต้องใส่รายละเอียดมาก
  7. ความ : (N) ; case ; Related:lawsuit ; Syn:ข้อคดี ; Def:คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล ; Samp:คดีที่เป็นตัวอย่างการพิจารณาความอาญาเก็บไว้ในห้องสมุด
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ความเท่าเทียม, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ความเท่าเทียม, more than 5 found, display 1-5
  1. ความ : [คฺวาม] น. เรื่อง เช่น เนื้อความ เกิดความ; อาการ เช่น ความทุกข์ ความสุข; คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล; คํานําหน้ากริยาหรือวิเศษณ์เพื่อแสดงสภาพ เช่น ความตาย ความดี ความชั่ว.
  2. เท่าเทียม : ว. เสมอหน้า, ทัดเทียม.
  3. ทัน ๒ : ว. เป็นไปตามเวลาที่กําหนด, เป็นไปพอดีกับเวลาที่กําหนด, เช่น ทันกาล ทันเวลา; ตามไปถึง เช่น เรียนทัน วิ่งทัน; เท่า, เทียมถึง, เช่น รู้ทันคน; เสมอด้วย เช่น อันว่าผู้จะทำนายฝนนแลจะทัน พระศรีสรรเพชญ์เสด็จภูมีบาลในสงสารภพนี้ก็บมี โสดแล. (ม. คำหลวง กุมาร).
  4. ความรู้สึกด้อย : (จิตวิทยา) น. ความรู้สึกว่าตนเองมีความสามารถไม่เท่าเทียมบุคคลทั่วไป ความรู้สึกนี้ไม่จําเป็นจะต้องอยู่ในจิตใต้สํานึกและผู้นั้นไม่จําเป็นต้องมี ปมด้อย อาจเกิดขึ้นในสิ่งแวดล้อมหรือในบางขณะเท่านั้น แต่ถ้าเกิดขึ้น เสมอ ๆ และมิได้แก้ไข ก็อาจเก็บกดไว้จนเกิดเป็นปมด้อยได้; ความไม่เชื่อ มั่นว่าตนเองมีฐานะหรือความสามารถเท่าเทียมผู้อื่น. (อ. inferiority feeling).
  5. เท่า : ว. เสมอกัน เช่น สูงเท่ากัน; ถึง เช่น ตราบเท่า; ทัน เช่น รู้เท่า; แค่, เพียง, เช่น สูงเท่าใด เก่งเท่าไหน ตัวเท่านี้. น. จํานวนที่เพิ่มขึ้น ตามส่วนของจํานวนเดิม เช่น ๓ เท่า คือจํานวนที่เพิ่มขึ้นเป็น ๓ ส่วนของจํานวนเดิม.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ความเท่าเทียม, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ความเท่าเทียม, more than 5 found, display 1-5
  1. ตถาคต : พระนามอย่างหนึ่งของพระพุทธเจ้า เป็นคำที่พระพุทธเจ้าทรงเรียกหรือตรัสถึงพระองค์เอง แปลได้ความหมาย ๘ อย่าง คือ ๑.พระผู้เสด็จมาแล้วอย่างนั้น คือ เสด็จมาทรงบำเพ็ญพุทธจริยา เพื่อประโยชน์แก่ชาวโลก เป็นต้น เหมือนอย่างพระพุทธเจ้าพระองค์ก่อนๆ อย่างไรก็อย่างนั้น ๒.พระผู้เสด็จไปแล้วอย่างนั้น คือทรงทำลายอวิชชาสละปวงกิเลสเสด็จไปเหมือนอย่างพระพุทธเจ้าพระองค์ก่อนๆ อย่างไรก็อย่างนั้น ๓.พระผู้เสด็จมาถึงตถลักษณะ คือ ทรงมีพระญาณหยั่งรู้เข้าถึงลักษณะที่แท้จริงของสิ่งทั้งหลายหรือของธรรมทุกอย่าง๔.พระผู้ตรัสรู้ตถธรรมตามที่มันเป็น คือ ตรัสรู้อริยสัจ ๔ หรือปฏิจจสมุปบาทอันเป็นธรรมที่จริงแท้แน่นอน ๕.พระผู้ทรงเห็นอย่างนี้ คือ ทรงรู้เท่าทันสรรพอารมณ์ที่ปรากฏแก่หมู่สัตว์ทั้งเทพและมนุษย์ ซึ่งสัตวโลกตลอดถึงเทพถึงพรหมได้ประสบและพากันแสวงหา ทรงเข้าใจสภาพที่แท้จริง ๖.พระผู้ตรัสอย่างนั้น (หรือมีพระวาจาที่แท้จริง) คือ พระดำรัสทั้งปวงนับแต่ตรัสรู้จนเสด็จดับขันธปรินิพพาน ล้วนเป็นสิ่งแท้จริงถูกต้อง ไม่เป็นอย่างอื่น ๗.พระผู้ทำอย่างนั้น คือ ตรัสอย่างใดทำอย่างนั้น ทำอย่างใด ตรัสอย่างนั้น ๘.พระผู้เป็นเจ้า (อภิภู) คือ ทรงเป็นผู้ใหญ่ยิ่งเหนือกว่าสรรพสัตว์ตลอดถึงพระพรหมที่สูงสุด เป็นผู้เห็นถ่องแท้ ทรงอำนาจ เป็นราชาที่พระราชาทรงบูชา เป็นเทพแห่งเทพ เป็นอินทร์เหนือพระอินทร์ เป็นพรหมเหนือประดาพรหม ไม่มีใครจะอาจวัดหรือจะทดเทียมพระองค์ด้วยศีล สมาธิ ปัญญา วิมุตติ และวิมุตติญาณทัสสนะ
  2. ความค้ำ : ในประโยคว่า เราจักไม่ทำความค้ำ ไปในละแวกบ้าน เดินเอามือค้ำบั้นเอว นั่งเท้าแขน
  3. ความปรารถนา : ของบุคคลในโลกที่ได้สมหมายด้วยยาก ๔ อย่าง ดู ทุลลภธรรม
  4. ความไม่ประมาท : ดู อัปปมาท
  5. กายคตาสติ : สติที่เป็นไปในกาย, สติอันพิจารณากายให้เห็นตามสภาพที่มีส่วนประกอบ ซึ่งล้วนเป็นของไม่สะอาด ไม่งาม น่ารังเกียจ ทำให้เกิดความรู้เท่าทัน ไม่หลงใหลมัวเมา
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ความเท่าเทียม, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเท่าเทียม, more than 5 found, display 1-5
  1. กุกฺกุล : (ปุ.) เถ้าร้อน, ถ่านร้อน, เถ้าสุม, เท่ารึง, เถ้ารึง เท่า เถ้าใช้ได้ทั้งสองคำ เถ้ารึงคือ เถ้าที่ไม่มีถ่านไฟ แต่ยังมีความร้อนอยู่. กุกฺกุ หตฺถํ ลุนาตีติ กุกฺกุโล. กุกฺกุปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อ, อุโลโป.
  2. จตุรสฺส : (วิ.) มีมุมสี่ ( สี่มุม ) วิ. จตฺตาโร อํสา ยสฺสา สา จตุรสฺสา ลบนิคคหิต รฺ อาคม แปลง ส เป็น สฺส ฎีกาเวสฯ ๕๓๑ ไทย ใช้จตุรัส จัตุรัส ในความหมายว่าสี่เหลี่ยม ด้านเท่า.
  3. จิตฺตานุปสฺสนา : (อิต.) การตามเห็นจิต, ความตามเห็นจิต (คือการใช้ปัญญาตรวจตราดู จิตของตนให้รู้เท่าทันอารมณ์ ไม่ยึดมั่น ถือมั่น).
  4. ทฺวิตา : (อิต.) ความที่แห่ง....นั้นเป็นของสอง เท่า, ความเป็นของสองเท่า. ทฺวิ+ตา ปัจ. ภาวตัท.
  5. ทฺวิตา, (ทฺวิตฺตา) : อิต. ความเป็นสองเท่า
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเท่าเทียม, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ความเท่าเทียม, more than 5 found, display 1-5
  1. ความกระหาย : ปิปาสา, ตสฺสนํ
  2. ความกว้างขวาง : อายติ [อิ.]
  3. ความกำเริบ : กุปฺปนํ [นป.]
  4. ความกำหนัด : กามราโค [ป.]
  5. ความเกรงกลัวต่อบาป : โอตฺตปฺปํ [นป.]
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ความเท่าเทียม, more results...

(0.4940 sec)