Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: คะแนนเฉลี่ย, เฉลี่ย, คะแนน , then คนน, คนนฉลย, คะแนน, คะแนนเฉลี่ย, ฉลย, เฉลี่ย .

Eng-Thai Lexitron Dict : คะแนนเฉลี่ย, more than 7 found, display 1-7
  1. grade point average : (N) ; คะแนนเฉลี่ย (คำย่อคือ GPA) ; Syn:grade point index
  2. point : (N) ; คะแนน ; Related:แต้มคะแนน, แต้ม
  3. mark 1 : (N) ; คะแนน ; Related:แต้ม ; Syn:tick
  4. score : (N) ; คะแนน ; Related:แต้ม ; Syn:amount, final tally, sum
  5. graduate with : (PHRV) ; ได้รับปริญญาพร้อมกับหรือด้วย (เกียรตินิยม, คะแนน, รางวัล)
  6. average : (VT) ; หาค่าเฉลี่ย ; Related:เฉลี่ย ; Syn:make, earn, perform, do
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : คะแนนเฉลี่ย, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : คะแนนเฉลี่ย, more than 7 found, display 1-7
  1. คะแนนเฉลี่ย : (N) ; point average ; Related:mean ; Samp:ผู้สำเร็จการศึกษามีคะแนนเฉลี่ยสะสม 2.50 - 2.99 มากที่สุด รองลงมามีคะแนนเฉลี่ยสะสม 2.00 - 2.49
  2. จีพีเอ : (N) ; GPA ; Related:grade point average ; Syn:คะแนนเฉลี่ย
  3. เฉลี่ย : (ADJ) ; average ; Related:mean ; Syn:ค่าเฉลี่ย ; Samp:เขาเป็นเด็กที่ฉลาดเรียนดี ได้เกรดเฉลี่ย 3.6 %
  4. เฉลี่ย : (V) ; average ; Related:balance out to, make on average, to estimate an average ; Samp:ชาวประมงในหมู่บ้านนี้ เฉลี่ยแล้วแต่ละคนมีรายได้ 500-600 บาทต่อเดือน
  5. เฉลี่ย : (V) ; share ; Related:divide, assign, distribute ; Syn:แบ่ง, หาร ; Def:แบ่งส่วนให้เท่าๆ กัน ; Samp:ทุกคนเฉลี่ยกันเพื่อจ่ายค่าอาหาร
  6. คะแนน : (N) ; mark ; Related:score, point, tally ; Syn:แต้ม ; Def:เครื่องหมายในการนับ, หน่วยที่ใช้ในการกำหนดค่าในการสอบหรือแข่งขัน ; Samp:ครูบอกว่าคะแนนที่จะได้ขึ้นอยู่กับจำนวนและคุณภาพของงานที่แต่ละคนทำ ; Unit:คะแนน
  7. ถัวเฉลี่ย : (ADJ) ; average ; Syn:เฉลี่ย ; Def:ที่มีส่วนเท่าๆ กัน ; Samp:ปัจจุบันประชาชนมีอายุถัวเฉลี่ยมากขึ้น
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : คะแนนเฉลี่ย, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : คะแนนเฉลี่ย, more than 5 found, display 1-5
  1. เฉลี่ย : [ฉะเหฺลี่ย] ก. แบ่งส่วนให้เท่ากัน, แจกจ่ายให้ทั่วกัน. ว. ที่ถัวให้มีส่วน เสมอกัน เช่น รายเฉลี่ย.
  2. คะแนน : น. เครื่องหมายในการนับ, หน่วยที่ใช้กําหนดค่าในการสอบหรือ แข่งขันเป็นต้น.
  3. คะแนนเสียง : น. คะแนนที่ลงในการออกเสียง.
  4. คะแนนนิยม : น. ความนิยมที่แสดงออกว่ามีมากน้อยเพียงใด.
  5. พระคะแนน : น. พระเครื่องขนาดเล็ก ใช้เป็นสิ่งกำหนดนับจำนวน พระเครื่องที่สร้างขึ้น เช่น เมื่อสร้างพระเครื่องครบ ๑๐๐ องค์ ก็มี พระคะแนน ๑ องค์.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : คะแนนเฉลี่ย, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : คะแนนเฉลี่ย, 7 found, display 1-7
  1. จักกวัตติสูตร : ชื่อสูตรที่ ๓ แห่งทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค พระสุตตันตปิฎก พระพุทธเจ้าตรัสสอนภิกษุทั้งหลายให้พึ่งตน คือพึ่งธรรม ด้วยการเจริญสติปัฏฐาน ๔ ซึ่งจะทำให้ได้ชื่อว่าเป็นผู้ดำเนินอยู่ในแดนของตนเองที่สืบมาแต่บิดา จะมีแต่ความดีงามเจริญขึ้นไม่เปิดช่องให้แก่มาร เช่นเดียวกับพระเจ้าจักรพรรดิที่ทรงประพฤติตามหลักจักรวรรดิวัตร อันสืบกันมาแต่บรรพชนของพระองค์ ย่อมทำให้จักรรัตนะบังเกิดขึ้นมาเอง, จักรวรรดิวัตร นั้นมี ๔ ข้อใหญ่ ใจความว่า ๑.พระเจ้าจักรพรรดิเป็นธรรมาธิปไตย และจัดการคุ้มครองป้องกันโดยชอบธรรม แก่ชนทุกหมู่เหล่าในแผ่นดิน ตลอดไปถึงสัตว์ที่ควรสงวนพันธุ์ทั้งหลาย ๒.มิให้มีการอันอธรรมเกิดขึ้นในแผ่นดิน ๓.ปันทรัพย์เฉลี่ยให้แก่ผู้ไร้ทรัพย์ ๔.ปรึกษาสอบถามการดีชั่ว ข้อควรและไม่ควรประพฤติ กะสมณพราหมณ์ ผู้ประพฤติดี ปฏิบัติชอบ อยู่เสมอ; จักรวรรดิวัตร ๔ ข้อนี้ บางทีจัดเป็น ๕ โดยแยกข้อ ๑.เป็น ๒ ข้อ คือ เป็นธรรมาธิปไตย ถือธรรมเป็นใหญ่อย่างหนึ่ง กับจัดการคุ้มครองป้องกันอันชอบธรรม อย่างหนึ่ง, นอกจากนั้น สมัยต่อมา อรรถกถาจัดแบ่งซอยออกไป และเพิ่มเข้ามาอีก รวมเป็น ๑๒ ข้อ เรียกว่า จักรวรรดิวัตร ๑๒ ; พระสูตรนี้ถือว่าเป็นคำสอนแสดงหลักวิวัฒนาการของสังคมตามแนวจริยธรรม กล่าวถึงหลักการปกครอง และหลักความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจกับจริยธรรม; เรื่องพระศรีอารยเมตไตรย ก็มีต้นเค้ามาจากพระสูตรนี้
  2. จาคสัมปทา : ถึงพร้อมด้วยการบริจาคทาน เป็นการเฉลี่ยสุขให้แก่ผู้อื่น ดู สัมปรายิกัตถะ
  3. ปักขคณนา : “การนับปักษ์”, วิธีคำนวณดิถีตามปักษ์ คือ คำนวณหาวันขึ้นแรมกี่ค่ำๆ ให้แม่นยำ ตรงตามการโคจรของดวงจันทร์อย่างแท้จริง เฉพาะอย่างยิ่งมุ่งให้ได้วันพระจันทร์เต็มดวงหรือวันเพ็ญ (ขึ้น ๑๔-๑๕ ค่ำ) วันพระจันทร์ดับ หรือวันดับ (แรม ๑๔-๑๕ ค่ำ) และวันพระจันทร์กึ่งดวง (ขึ้น ๘ ค่ำ และ แรม ๘ ค่ำ) ตรงกับวันที่ดวงจันทร์เป็นอย่างนั้นจริงๆ ซึ่งบางเดือนข้างขึ้นอาจมีเพียง ๑๔ วัน (วันเพ็ญ เมื่อขึ้น ๑๔ ค่ำ) ก็มีข้างแรมอาจมีเต็ม ๑๕ วันติดต่อกัน หลายเดือนก็มี ต้องตรวจดูเป็นปักษ์ๆ ไป จึงใช้คำว่าปักษ์ถ้วน ปักษ์ขาดไม่ใช่เพียงเดือนเต็ม เดือนขาด เป็นวิธีคำนวณที่สลับซับซ้อน ต่างจากปฏิทินหลวง หรือปฏิทินของราชการ ที่ใช้วิธีคำนวณเฉลี่ยให้ข้างขึ้นเต็ม ๑๕ วันเสมอไป ส่วนข้างแรม เดือนคู่มี ๑๕ วัน เดือนคี่เรียกว่าเดือนขาดมี ๑๔ วัน สลับกันไป (แม้จะคำนวณด้วยวิธีที่พิเศษออกไป แต่วันเดือนเพ็ญเดือนดับที่ตรงกันก็มาก ที่คลาดกันก็เพียงวันเดียว); ปักขคณนา นี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ทรงค้นคิดวิธีคำนวณขึ้นใช้ในพระสงฆ์คณะธรรมยุต เพื่อเป็นเครื่องกำหนดวันสำหรับพระสงฆ์ทำอุโบสถ และสำหรับอุบาสกอุบาสิการักษาอุโบสถศีลฟังธรรมเป็นข้อปฏิบัติของคณะธรรมยุตสืบมา
  4. ปักษคณนา : การนับปักษ์, วิธีคำนวณดิถีตามปักษ์ คือ คำนวณหาวันขึ้นแรมกี่ค่ำๆ ให้แม่นยำ ตรงตามการโคจรของดวงจันทร์อย่างแท้จริง เฉพาะอย่างยิ่งมุ่งให้ได้วันพระจันทร์เต็มดวงหรือวันเพ็ญ (ขึ้น ๑๔-๑๕ ค่ำ) วันพระจันทร์ดับ หรือวันดับ (แรม ๑๔-๑๕ ค่ำ) และวันพระจันทร์กึ่งดวง (ขึ้น ๘ ค่ำ และ แรม ๘ ค่ำ) ตรงกับวันที่ดวงจันทร์เป็นอย่างนั้นจริงๆ ซึ่งบางเดือนข้างขึ้นอาจมีเพียง ๑๔ วัน (วันเพ็ญ เมื่อขึ้น ๑๔ ค่ำ) ก็มีข้างแรมอาจมีเต็ม ๑๕ วันติดต่อกัน หลายเดือนก็มี ต้องตรวจดูเป็นปักษ์ๆ ไป จึงใช้คำว่าปักษ์ถ้วน ปักษ์ขาดไม่ใช่เพียงเดือนเต็ม เดือนขาด เป็นวิธีคำนวณที่สลับซับซ้อน ต่างจากปฏิทินหลวง หรือปฏิทินของราชการ ที่ใช้วิธีคำนวณเฉลี่ยให้ข้างขึ้นเต็ม ๑๕ วันเสมอไป ส่วนข้างแรม เดือนคู่มี ๑๕ วัน เดือนคี่เรียกว่าเดือนขาดมี ๑๔ วัน สลับกันไป (แม้จะคำนวณด้วยวิธีที่พิเศษออกไป แต่วันเดือนเพ็ญเดือนดับที่ตรงกันก็มาก ที่คลาดกันก็เพียงวันเดียว); ปักขคณนา นี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ทรงค้นคิดวิธีคำนวณขึ้นใช้ในพระสงฆ์คณะธรรมยุต เพื่อเป็นเครื่องกำหนดวันสำหรับพระสงฆ์ทำอุโบสถ และสำหรับอุบาสกอุบาสิการักษาอุโบสถศีลฟังธรรมเป็นข้อปฏิบัติของคณะธรรมยุตสืบมา
  5. ปัตติทานมัย : บุญสำเร็จด้วยการให้ส่วนบุญ, ทำบุญด้วยการเฉลี่ยส่วนแห่งความดีให้แก่ผู้อื่น (ข้อ ๖ ในบุญกิริยาวัตถุ ๑๐)
  6. มัธยม : มีในท่ามกลาง; ระดับกลาง; เที่ยงวัน หมายถึงเวลาเที่ยงที่ปรากฏตามเงาแดด ถ้าเป็นเวลาที่คิดเฉลี่ยกันแล้วเรียกว่า สมผุส
  7. เยภยยสิกา : กิริยาเป็นไปตามข้างมาก ได้แก่ วิธีตัดสินอารมณ์โดยถือเอาตามคำของคนข้างมาก เช่น วิธีจับสลากเพื่อชี้ข้อผิดถูก ข้างไหนมีภิกษุผู้ร่วมพิจารณาลงความเห็นมากกว่า ก็ถือเอาพวกข้างนั้น เป็นวิธีอย่างเดียวกับการโหวตคะแนนเสียง, ใช้สำหรับระงับวิวาทาธิกรณ์ ดู อธิกรณสมถะ

ETipitaka Pali-Thai Dict : คะแนนเฉลี่ย, 4 found, display 1-4
  1. ปาสก : ๑. นป. ดู ปาส๒. ป. ลูกเต๋า, ลูกบาศก์, คะแนน, คานประตู
  2. มุทฺทิก : (ปุ.) คนนับคะแนน, นักการบัญชี.
  3. อกฺข : (ปุ.) คะแนน, เกวียน, กลุ่ม, ดุม, เพลา, เพลารถ. วิ.อรนฺติ เอเตนาติ อกฺโข. อรฺ อกฺ วา คมเน, โข. ถ้าตั้ง อรฺ แปลง รฺ เป็นกฺ. ส. อกฺษ.
  4. คพฺโภทร : (นปุ.) เนื้อนี้ของโค วิ. คุนฺนํ อิทํ มํสํ คพฺยํ. ย ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๕. สิ่งนี้มีอยู่ในวัว วิ. คเว ภวํ คพฺยํ. ณฺย ปัจ. ชาตาทิตัท. รูปฯ ๓๖๓.

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : คะแนนเฉลี่ย, 1 found, display 1-1
  1. คะแนน : ลกฺขํ

(0.2107 sec)