Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: คำชี้แจง .

Eng-Thai Lexitron Dict : คำชี้แจง, 3 found, display 1-3

Thai-Eng Lexitron Dict : คำชี้แจง, 6 found, display 1-6
  1. คำชี้แจง : (N) ; explanation ; Related:elucidation, exposition, reason, explication, clarification, commentary ; Syn:คำอธิบาย ; Samp:อาจารย์ต้องการคำชี้แจงจากนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องการประท้วง ; Unit:คำ
  2. คำอธิบาย : (N) ; explanation ; Related:caption, exposition, explication, elucidation ; Syn:คำชี้แจง ; Samp:คำอธิบายนี้ถ้าจะให้เข้าใจชัดเจนต้องนำไปลองปฏิบัติจริงๆ ; Unit:เรื่อง, ข้อ, ประการ
  3. อนุศาสน์ : (N) ; explanation ; Syn:คำชี้แจง ; Samp:พ่อแม่ให้อนุศาสน์ทุกอย่างแก่ลูกตั้งแต่เริ่มต้นของชีวิต
  4. ถ้อยแถลง : (N) ; statement ; Related:argument, summation, declaration, pamphlet, contents, text ; Syn:คำชี้แจง, คำประกาศ ; Def:คำอธิบายเป็นทางการ ; Samp:ถ้อยแถลงของเขาทำให้ผมเห็นสัจจะของความเป็นมนุษย์
  5. แถลงการณ์ : (N) ; official statement ; Related:communique, bulletin ; Syn:คำแถลง, คำอธิบาย, คำชี้แจง, ถ้อยแถลง ; Def:คำอธิบายเหตุการณ์เป็นทางการ ; Samp:นายกรัฐมนตรีออกแถลงการณ์ยอมรับความผิดพลาดของการบริหารของรัฐบาล

Royal Institute Thai-Thai Dict : คำชี้แจง, 1 found, display 1-1
  1. สมเหตุสมผล : ว. มีเหตุผลสมควร, มีเหตุผลรับกัน, เช่น คำชี้แจง ของเขาสมเหตุสมผล เขาอภิปรายได้สมเหตุสมผล.

Budhism Thai-Thai Dict : คำชี้แจง, 2 found, display 1-2
  1. อนุศาสน์ : การสอน, คำชี้แจง; คำสอนที่อุปัชฌาย์หรือกรรมวาจาจารย์บอกแก่ภิกษุใหม่ ในเวลาอุปสมบทเสร็จประกอบด้วย นิสสัย ๔ และ อกรณียกิจ ๔ นิสสัย คือ ปัจจัยเครื่องอาศัยของบรรพชิต มี ๔ อย่าง ได้แก่ ๑) เที่ยวบิณฑบาต ๒) นุ่งห่มผ้าบังสุกุล ๓) อยู่โคนไม้ ๔) ฉันยาดองด้วยน้ำมูตรเน่า (ท่านบอกไว้เป็นทางแสวงหาปัจจัย ๔ พร้อมทั้งอตเรกลาภของภิกษุ) อกรณียกิจ กิจที่ไม่ควรทำ หมายถึง กิจที่บรรพชิตทำไม่ได้ มี ๔ อย่าง ได้แก่ ๑) เสพเมถุน ๒) ลักของเขา ๓) ฆ่าสัตว์ (ที่ให้าดจากความเป็นภิกษุหมายเอาฆ่ามนุษย์) ๔) พูดอวดคุณวิเศษที่ไม่มีในตน
  2. วิสัชชนา : คำตอบ, คำแก้ไข; คำชี้แจง (พจนานุกรม เขียน วิสัชนา)

ETipitaka Pali-Thai Dict : คำชี้แจง, 7 found, display 1-7
  1. ทีปนา : อิต. การชี้แจง, การอธิบาย, คำชี้แจง, คำอธิบาย, คำแถลง
  2. นิทฺเทส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องแสดงออก, คำแสดงออก, คำจำแนกออก, คำชี้แจง, คำอธิบาย, การแสดงออก (มาให้เห็น ชัดเจน), การชี้, การชี้ให้เห็นโทษ, การแสดงอรรถที่เป็นข้อๆ ออก, นิทเทศ, นิเทศ (การแสดงอย่างพิสดาร).
  3. สูจน : (นปุ.) การแต่ง, ฯลฯ, คำชี้แจง, คำประกาศ, คำแสดง, คำบ่ง, คำระบุ, การส่อเสียด, คำส่อเสียด. ยุ ปัจ.
  4. สูจิ : (อิต.) เข็ม, คำชี้แจง, คำประกาศ, เครื่องชี้, รายการ, สารบัญ, ตาล, กลอน, ลิ่ม. วิ. สูเจติ คฒมคฺคนฺติ สูจิ. สูจฺ ปกาสเน, อิ. ส. สูจิ, สูจี.
  5. อนุสาสน : (นปุ.) การพร่ำสอน, การสั่งสอน, การว่ากล่าว, คำสั่งสอน, คำชี้แจง, อนุ-ศาสน์.วิ.อนุสาสิยเตติอนุสาสนํ.ส. อนุศาสนคำสั่งวินัย.
  6. อปเทส : (ปุ.) คำกล่าว, คำบอกเล่า, คำชี้แจง, คำอ้างอิง, ข้ออ้างอิง, การกล่าวอ้าง, เหตุ, การโกง.อปปุพฺโพ, ทิสฺ อุจฺจารเณ, โณ.
  7. อุทฺเทส : (ปุ.) การยกขึ้นแสดง, การยกขึ้น ชี้แจง, การยกขึ้นอ้างอิง, การแสดง, การชี้แจง, การบรรยาย, การสวด, คำชี้แจง, คำอธิบาย, พระปาติโมกข์ ชื่อพระบาลีที่ ยกขึ้นสวดทุกกึ่งเดือน, อุเทศ คือ การจัด อย่างสังเขปรวมเป็นข้อ ๆ ไว้ การสอน หรือการเรียนพระบาลี. อุปุพฺโพ, ทิสฺ ปกาสนอติสชฺชเนสุ, โณ, ทฺสํโยโค. ส. อุทฺเทศ.

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : คำชี้แจง, not found

(0.0256 sec)