Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ฆราวาส .

Eng-Thai Lexitron Dict : ฆราวาส, 11 found, display 1-11
  1. laic : (N) ; ฆราวาส ; Related:คนสามัญ ; Syn:laic, layman
  2. laical : (N) ; ฆราวาส ; Related:คนสามัญ ; Syn:laic, layman
  3. layman : (N) ; ฆราวาส ; Related:ผู้ครองเรือน, คฤหัสถ์ ; Syn:laity
  4. laywoman : (N) ; ฆราวาสหญิง
  5. impropriate : (VT) ; โอนรายได้หรือทรัพย์สมบัติของวัดให้ตกอยู่ในความดูแลของฆราวาส
  6. laic : (ADJ) ; ที่เกี่ยวกับฆราวาส ; Related:ที่เกี่ยวกับคนสามัญ ; Syn:laical, lay
  7. laical : (ADJ) ; ที่เกี่ยวกับฆราวาส ; Related:ที่เกี่ยวกับคนสามัญ ; Syn:laical, lay
  8. lay 3 : (ADJ) ; เกี่ยวกับฆราวาส ; Related:ไม่ใช่พระ
  9. secular : (ADJ) ; เกี่ยวกับทางโลก ; Related:ไม่เกี่ยวกับศาสนา, ทางโลก, ทางฆราวาส ; Syn:irreligious, worldly
  10. secularize : (VT) ; ทำให้เป็นทางโลก ; Related:แยกออกจากนอกวัด, ทำให้ไม่เกี่ยวกับเรื่องศาสนา, เปลี่ยนเป็นของฆราวาส ; Syn:undedicate, depose, deconsecrate
  11. temporal 1 : (ADJ) ; ที่เกี่ยวกับทางโลก ; Related:เกี่ยวกับฆราวาส ; Syn:earthly, mundane, secular

Thai-Eng Lexitron Dict : ฆราวาส, 9 found, display 1-9
  1. ฆราวาส : (N) ; layman ; Related:laity, layperson ; Syn:ผู้ครองเรือน, คฤหัสถ์ ; Def:คนทั่วๆ ไปที่ไม่ใช่นักบวช, คนผู้อยู่ในครองเรือน ; Samp:ฆราวาสคือบุคคลทั่วไปที่ไม่ได้เป็นพระภิกษุสงฆ์ ; Unit:คน
  2. คฤหัสถ์ : (N) ; householder ; Related:layman, laity ; Syn:ฆราวาส ; Ant:สงฆ์, พระภิกษุ ; Def:ผู้ครองเรือน, ผู้ไม่ใช่นักบวช ; Samp:สังคมของพระกับสังคมของคฤหัสถ์นั้นแม้จะอยู่ในสังคมร่วมกัน แต่ทัศนคติกติกาของสังคมคงต่างกัน ; Unit:คน
  3. สงฆ์ : (N) ; monk ; Syn:พระสงฆ์, ผู้ทรงศีล, บรรพฃิต ; Ant:ฆราวาส
  4. กระหัด : (N) ; layman ; Syn:คฤหัสถ์, ฆราวาส
  5. ประสก : (N) ; pious Buddhist ; Related:layman, lay devoter, churchman ; Syn:อุบาสก, ฆราวาส, คฤหัสถ์ ; Ant:อุบาสิกา, สีกา ; Def:ชายผู้แสดงตนเป็นคนถือพระพุทธศาสนา, คำที่บรรพชิตเรียกคฤหัสถ์ผู้ชาย ; Unit:คน
  6. ลาสิกขา : (V) ; leave the Buddhist monkhood ; Syn:ลาสึก, ลาเพศ ; Ant:ลาบวช ; Def:ลาจากเพศสมณะ, ลาสึกจากพระเป็นฆราวาส ; Samp:แพทย์ลงความเห็นว่า ท่านต้องลาสิกขาออกไปรักษาตัวถึงจะหายขาด
  7. ร้อนผ้าเหลือง : (V) ; want to leave the monkhood ; Def:อยากสึก (ใช้แก่ภิกษุสามเณร) ; Samp:พระบางองค์ร้อนผ้าเหลือง สึกออกมาเป็นฆราวาสอาจเป็นใหญ่เป็นโตในราชการได้ ถ้ามีปัญญา ความสามารถ และได้ฝากเนื้อฝากตัวกับข้าราชการผู้ใหญ่
  8. สงฆ์ : (N) ; Buddhist monk ; Syn:ภิกษุ, พระภิกษุ, พระภิกษุสงฆ์, พระสงฆ์ ; Def:ชายที่อุปสมบทในพุทธศาสนา ; Samp:ลูกศิษย์ต้องไหว้กราบครู ไม่ว่าจะเป็นครูที่เป็นสงฆ์หรือเป็นฆราวาสก็ตาม ; Unit:องค์, รูป
  9. อุปสมบท : (V) ; go into priesthood ; Related:to be ordained ; Syn:บวช, บรรพชา ; Def:บวชเป็นภิกษุ ; Samp:ท่านเกิดความเบื่อหน่ายในชีวิตเพศฆราวาสจึงตัดสินใจอุปสมบทสู่เพศบรรพชิตอีกครั้ง

Royal Institute Thai-Thai Dict : ฆราวาส, 6 found, display 1-6
  1. ฆราวาส : [คะราวาด] น. คนผู้อยู่ครองเรือน, คนทั่ว ๆ ไปที่ไม่ใช่ บรรพชิตหรือนักบวช. (ป.).
  2. คฤหัสถ์ : [คะรึหัด] น. ผู้ครองเรือน, ผู้ไม่ใช่นักบวช, ฆราวาส. (ส. คฺฤหสฺถ; ป. คหฏฺ?).
  3. อาวาส : [วาด] น. วัด เช่น เจ้าอาวาส ที่อยู่ เช่น พุทธาวาส (พุทธ + อาวาส) คือ ที่ประดิษฐานพระพุทธรูป หมายถึง โบสถ์ วิหาร สังฆาวาส (สังฆ + อาวาส) คือ ที่อยู่ของพระสงฆ์; ผู้ครอบครอง เช่น ฆราวาส (ฆร + อาวาส) คือ ผู้ครอบครองเรือน หรือผู้อยู่ครองเรือน. (ป., ส.).
  4. ขรัว : [ขฺรัว] น. คําเรียกภิกษุที่มีอายุมาก หรือที่บวชเมื่อแก่ หรือฆราวาสผู้เฒ่า. ว. เรียกคนที่มั่งมีว่า เจ้าขรัว.
  5. โยม : น. คําที่พระสงฆ์ใช้เรียกบิดามารดาของตนหรือเรียกผู้ใหญ่รุ่นราวคราว เดียวกับบิดามารดา เช่น โยมพ่อ โยมแม่ โยมย่า โยมยาย โยมน้า; เป็นคํา ใช้แทนชื่อบิดามารดาของพระภิกษุสามเณร; เรียกผู้ที่เป็นบิดามารดาของ พระว่า โยมพระ; เรียกผู้ที่แสดงตนเป็นผู้อุปการะพระภิกษุสามเณรโดย เจาะจงว่า โยมอุปัฏฐาก; เรียกฆราวาสที่อยู่ปฏิบัติรับใช้พระภิกษุสามเณร ในวัดว่า โยมวัด; เรียกฆราวาสผู้อุปการะพระทั่ว ๆ ไป ว่า โยมสงฆ์.
  6. สัตถันดร, สัตถันดรกัป : [สัดถันดอน, สัดถันดะระกับ] น. ชื่อกัปหรือกัลป์หนึ่ง ซึ่งถือว่าคน เสื่อมจากศีลธรรมอย่างที่สุด มีการรบราฆ่าฟันกัน ไม่รู้จักญาติพี่น้อง เช่น ห้าขวบมีฆราวาส ใจร้ายกาจโกลี กัลปนั้นมีนามกร ชื่อสัตถันดร พึงมี. (มาลัยคําหลวง). (ป. สตฺถ + อนฺตร).

Budhism Thai-Thai Dict : ฆราวาส, more than 5 found, display 1-5
  1. ฆราวาส : การอยู่ครองเรือน, ชีวิตชาวบ้าน; ในภาษาไทย มักใช้หมายถึงผู้ครองเรือน คือ คฤหัสถ์
  2. ฆราวาสนิสัย : วิสัยของฆราวาส, ลักษณะที่เป็นภาวะของผู้ครองเรือน, เรื่องของชาวบ้าน
  3. ฆราวาสธรรม : หลักธรรมสำหรับการครองเรือน, ธรรมของผู้ครองเรือน มี ๔ อย่างคือ ๑.สัจจะ ความจริง เช่น ซื่อสัตย์ต่อกัน ๒.ทมะ ความฝึกฝน ปรับปรุงตน เช่น รู้จักข่มใจ ควบคุมอารมณ์ บังคับตนเองปรับตัวเข้ากับการงานและสิ่งแวดล้อมให้ได้ดี ๓.ขันติ ความอดทน ๔.จาคะ ความเสียสละ เผื่อแผ่ แบ่งปัน มีน้ำใจ
  4. ฆราวาสสมบัติ : สมบัติของการครองเรือน, ความพรั่งพร้อมสมบูรณ์ของชีวิตชาวบ้าน
  5. ธรรมของฆราวาส : ดู ฆราวาสธรรม
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ฆราวาส, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ฆราวาส, 5 found, display 1-5
  1. ฆราวาส : (ปุ.) การอยู่ครองซึ่งเรือน, คนอยู่ ครอบครองซึ่งเรือน, คนอยู่ครองเรือน, คนครองเรือน, ฆราวาส(คนที่มิใช่นักบวช)
  2. ฆราวาสพนฺธน : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องผูกคือ การอยู่ครอบครองซึ่งเรือน เป็น อว.ตัป มี ทุ.ตัป. เป็นภายใน.
  3. อคาริก : (ปุ.) คนผู้ประกอบในเรือน, คนอยู่ในเรือน, คนครองเรือน, ฆราวาส, คฤหัสถ์, ชาวบ้าน.
  4. ปพฺพชฺชา : (อิต.) การเว้น, การละเว้น, การบวช, บรรพชา (การละเว้นจากการทำชั่ว ทุกอย่าง ). บรรพชานั้นต้องเว้นจากเมถุน ธรรม การบวชในศาสนาหรือลัทธิใดก็ตาม ถ้าเว้นจากกามกิจแล้วเรียกว่าบรรพชาได้. ความหมายของคำ ปพฺพชา นั้น คือการออกจากความเป็นฆราวาส ไปประพฤติตน เป็นนักบวช ต่อมามีพระบัญญัติให้ผู้ที่มี อายุยังไม่ครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์บวช เรียกผู้ที่ บวชนั้นว่า สามเณร สามเณรี จึงแยกการบวชออกเป็น ๒ คือ บวชเป็นภิกษุ เรียกว่า อุปสมบท บวชเป็น สามเณร สามเณรี ว่า บรรพชา. ปปุพฺโพ, วชฺชฺ วชฺชฺเน, อ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘ รูปฯ ๖๔๔ วิ. ปฐเมว วชิตพฺพาติ ปพฺพชฺชา. ปฐมปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, โณฺย ภาวกมฺเมสุ. แปลง ชฺย เป็น ชฺช แปลง ว เป็น วฺว แล้วแปลงเป็น พฺพ. โมคฯ ลง ย ปัจ. ส. ปฺรวรชฺยา.
  5. ภนฺเต ภทนฺเต : (อัพ. นิบาต) เป็นคำสำหรับฆราวาสพูดกับนักบวช หรือนักบวชผู้มีพรรษาอ่อนพูดกับนักบวชผู้มีพรรษาแก่กว่า แปลว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ท่านเจ้าข้า เจ้าข้า พระเจ้าข้า พระพุทธเจ้าข้า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ, ฯลฯ.

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ฆราวาส, 1 found, display 1-1
  1. ฆราวาส : ฆราวาโส

(0.0473 sec)