Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: งด , then งด, งต .

Eng-Thai Lexitron Dict : งด, more than 7 found, display 1-7
  1. dispense with : (PHRV) ; ทำโดยปราศจาก ; Related:งด ; Syn:do without, go without, live without, manage out
  2. abstain : (VI) ; งดเว้น ; Related:ละเว้น ; Syn:refrain, forbear, avoid
  3. forbear from : (PHRV) ; งดเว้นจาก ; Related:ละเว้นจาก, หลีกเลี่ยง (โดยควบคุมตัวเอง), ป้องกันตนจาก ; Syn:refrain from, withhold from
  4. prevent from : (PHRV) ; งดเว้นจาก ; Related:ละเว้นจาก ; Syn:hinder from, keep from
  5. apheresis : (N) ; การงดออกเสียงในพยางค์แรกของคำ
  6. Eng-Thai Lexitron Dict : งด, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : งด, more than 7 found, display 1-7
  1. งด : (V) ; stop ; Related:halt, discontinue, cease, give up, quit, cancel ; Syn:ระงับ, บอกเลิก, เลิก, หยุด, ยกเลิก, เว้น ; Ant:เริ่ม, ดำเนินต่อไป ; Def:ไม่กระทำหรือไม่ดำเนินการตามปกติ ; Samp:สถานีรถไฟงดจ่ายบัตรเนื่องจากที่นั่งผู้โดยสารเต็มแล้ว
  2. งดเว้น : (V) ; refrain from ; Related:abstain, give up, stop, desist ; Syn:เว้น, ละเว้น, งด, ล้มเลิก, ยกเลิก, ยกเว้น ; Ant:ปฏิบัติ ; Samp:พุทธศาสนิกชนควรงดเว้นการฆ่าสัตว์
  3. การงด : (N) ; cancellation ; Syn:การยกเลิก ; Samp:การงดการเรียนการสอนในวันสถาปนาโรงเรียนทำให้นักเรียนต่างดีใจกันมาก
  4. ว่างเว้น : (V) ; free ; Related:cease, abstain, refrain, stop, quit ; Syn:งด, เว้น, หยุด ; Samp:เธอว่างเว้นจากเวทีประกวดมานาน 2 ปีเต็ม
  5. การงดออกเสียง : (N) ; abstention ; Ant:การออกเสียง ; Def:การไม่แสดงความเห็นตามสิทธิ
  6. แง่ดี : (N) ; optimism ; Related:looking on the bright/good side ; Syn:แง่บวก ; Ant:แง่ร้าย ; Def:นัยว่าเป็นเรื่องที่ดีงาม ; Samp:แม่ก็ต้องเอาแต่แง่ดีของลูกมาพูดให้คนอื่นฟังอยู่แล้ว
  7. บอกเลิก : (V) ; cancel ; Related:revoke, abolish, call off, withdraw, wipe out ; Syn:ยกเลิก, เลิก, เพิกถอน, งด, ล้มเลิก ; Samp:คู่สัญญาแต่ละฝ่ายมิได้บอกเลิกสัญญานี้ ดังนั้นทุกอย่างยังคงเป็นไปตามสัญญา
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : งด, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : งด, more than 5 found, display 1-5
  1. งด : ก. หยุดหรือเว้น คือ ไม่กระทําหรือไม่ดําเนินการตามปรกติ เช่น ผู้ป่วย ต้องงดอาหารและน้ำตามที่แพทย์สั่ง.
  2. งดเว้น : ก. เว้นด้วยการงด คือ หยุดไม่กระทำหรือไม่ดำเนินการตามปรกติ เช่น งดเว้นอบายมุขระหว่างเข้าพรรษา.
  3. เงือด, เงือดงด : ก. อดกลั้น, ยับยั้ง, เช่น เงือดคํารบสองคาบสามคาบ. (จารึกสยาม), จำต้องเงือดงดอดกลั้น คอยหยิบผิดมันให้จงได้. (สังข์ทอง).
  4. กระทำ ๑ : ก. ทํา, จัดแจง, ปรุงขึ้น, สร้างขึ้น; (กฎ) ทําการใด ๆ ที่เกิดผลในทางกฎหมาย และหมายรวมถึงละเว้นการที่ กฎหมายบังคับให้กระทํา หรืองดเว้นการที่จักต้องกระทํา เพื่อป้องกันผลนั้นด้วย.
  5. โกรม : [โกฺรม] (แบบ) ว. ใต้, ต่า, ล่าง, ใต้ฟ้า เช่น อนนสองดไนยหน่อเหน้า เหง้ากรุงโกรมกษัตริย. (ม. คําหลวง ฉกษัตริย์). (ข.).
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : งด, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : งด, 8 found, display 1-8
  1. จุลวรรค : ชื่อคัมภีร์อันเป็นหมวดหนึ่งแห่งพระวินัยปิฎก ซึ่งมีทั้งหมด ๕ หมวด คือ อาทิกัมม์ ปาจิตตีย์ มหาวรรค จุลวรรค บริวาร ; คัมภีร์จุลวรรค มี ๑๒ ขันธกะ คือ ๑.กัมมขันธกะ ว่าด้วยเรื่องนิคคหกรรม ๒.ปาริวาสิกขันธกะ ว่าด้วยวัตรของภิกษุผู้อยู่ปริวาส ผู้ประพฤติมานัต และผู้เตรียมจะอัพภาน ๓.สมุจจยขันธกะ ว่าด้วยระเบียบปฏิบัติต่างๆ ในการประพฤติวุฏฐานวิธี ๔.สมถขันธกะ ว่าด้วยการระงับอธิกรณ์ ๕.ขุททกวัตถุขันธกะ ว่าด้วยข้อบัญญัติปลีกย่อยจำนวนมาก เช่น การปลงผม ตัดเล็บ ไม้จิ้มฟัน ของใช้ต่างๆ เป็นต้น ๖.เสนาสนขันธกะ ว่าด้วยสังฆเภทและสังฆสามัคคี ๘.วัตตขันธกะ ว่าด้วยวัตรต่างๆ เช่น อาคันตุกวัตร เป็นตน ๙.ปาติโมกขัฏฐปนขันธกะ ว่าด้วยระเบียบในการงดสวดปาฏิโมกข์ในเมื่อภิกษุมีอาบัติติดตัวมาร่วมฟังอยู่ ๑๐.ภิกขุนีขันธกะ ว่าด้วยเรื่องภิกษุณีเริ่มแต่ประวัติการอนุญาตให้มีการบวชครั้งแรก ๑๑.ปัญจสติกขันธกะ ว่าด้วยเรื่องสังคายนาครั้งที่ ๑ ๑๒.สัตตสติกขันธกะ ว่าด้วยสังคายนาครั้งที่ ๒ (พระไตรปิฎกเล่ม ๖-๗); ต่อจาก มหาวรรค
  2. ปริวาส : การอยู่ชดใช้ เรียกสามัญว่า อยู่กรรม, เป็นชื่อวุฏฐานวิธี (ระเบียบปฏิบัติสำหรับออกจากครุกาบัติ) อย่างหนึ่ง ซึ่งภิกษุผู้ต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วปกปิดไว้ จะต้องประพฤติเป็นการลงโทษตนเองชดใช้ให้ครบเท่าจำนวนวันที่ปิดอาบัติ ก่อนที่จะประพฤติมานัตอันเป็นขั้นตอนปกติของการออกจากอาบัติต่อไป, ระหว่างอยู่ปริวาส ต้องประพฤติวัตรต่างๆ เช่น งดใช้สิทธิบางอย่าง ลดฐานะของตน และประจานตัวเป็นต้น; ปริวาส มี ๓ อย่าง คือ ปฏิจฉันนปริวาส สโมธานปริวาส และ สุทธันตปริวาส; มีปริวาสอีกอย่างหนึ่งสำหรับนักบวชนอกศาสนา จะต้องประพฤติก่อนที่จะบวชในพระธรรมวินัย เรียกว่า ติตถิยปริวาส ซึ่งท่านจัดเป็น อปริจฉันนปริวาส
  3. มังสวิรัติ : การงดเว้นกินเนื้อสัตว์ (เป็นคำบัญญัติภายหลัง)
  4. วินัย : ระเบียบแบบแผนสำหรับฝึกฝนควบคุมความประพฤติของบุคคลให้มีชีวิตที่ดีงามเจริญก้าวหน้าและควบคุมหมู่ชนให้อยู่ร่วมกันด้วยความสงบเรียบร้อยดีงาม, ประมวลบทบัญญัติข้อบังคับสำหรับฝึกฝนควบคุมความประพฤติ; วินัย มี ๒ อย่างคือ ๑.อนาคาริยวินัย วินัยของผู้ไม่ครองเรือน คือ วินัยของบรรพชิต หรือวินัยของพระสงฆ์ ได้แก่ การไม่ต้องอาบัติทั้ง ๗ หรือ ปาริสุทธิศีล ๔ ๒.อาคาริยวินัย วินัยของผู้ครองเรือน คือ วินัยของชาวบ้าน ได้แก่ การงดเว้นจากอกุศลกรรมบถ ๑๐ หรือ กุศลกรรมบท ๑๐
  5. วิรัติ : ความเว้น, งดเว้น; เจตนาที่งดเว้นจากความชั่ว; วิรติ ๓ คือ ๑.สัมปัตตวิรัติ เว้นได้ซึ่งสิ่งที่ประจวบเข้า ๒.สมาทานวิรัติ เว้นด้วยการสมาทาน ๓.สมุจเฉทวิรัติ เว้นได้โดยเด็ดขาด
  6. สมาทานวิรัติ : การเว้นด้วยการสมาทาน คือ ได้สมาทานศีลไว้ก่อนแล้ว เมื่อประสบเหตุที่จะให้ทำความชั่ว ก็งดเว้นได้ตามที่สมาทานนั้น (ข้อ ๒ ในวิรัติ ๓)
  7. สัญญมะ : การยับยั้ง, การงดเว้น (จากบาป หรือจากการเบียดเบียน), การบังคับควบคุมตน; ท่านมักอธิบายว่า สัญญมะ ได้แก่ ศีล, บางทีแปลว่า สำรวม เหมือนอย่าง “สังวร”; เพื่อความเข้าใจชัดเจนในเบื้องต้น พึงเทียบความหมายระหว่างข้อธรรม ๓ อย่าง คือ สังวร เน้นความระวังในการรับเข้า คือปิดกั้นสิ่งเสียหายที่จะเข้ามาจากภายนอก สัญญมะ ควบคุมตนในการแสดงออก มิให้เป็นไปเพื่อการเบียดเบียน เป็นต้น ทมะ ฝึกฝนแก้ไขปรับปรุงตน ข่มกำจัดส่วนร้ายและเสริมส่วนที่ดีงามให้ยิ่งขึ้นไป; สังยมะ ก็เขียน
  8. โสภณเจตสิก : เจตสิกฝ่ายดีงาม มี ๒๕ แบ่งเป็น ก.โสภณสาธารณเจตสิก (เจตสิกที่เกิดทั่วไปกับจิตดีงามทุกดวง) ๑๙ คือ สัทธา สติ หิริ โอตตัปปะ อโลภะ อโทสะ ตัตรมัชฌัตตตา (ความเป็นกลางในอารมณ์นั้น ๆ = อุเบกขา) กายปัสสัทธิ (ความคลายสงบแห่งกองเจตสิก) จิตตปัสสัทธิ (แห่งจิต) กายลหุตา (ความเบาแห่งกองเจตสิก) จิตตลหุตา (แห่งจิต) กายมุทุตา (ความนุ่มนวลแห่งกองเจตสิก) จิตตมุทุตา (แห่งจิต) กายกัมมัญญตา (ความควรแก่งานแห่งกองเจตสิก) จิตตกัมมัญญตา (แห่งจิต) กายปาคุญญตา (ความคล่องแคล่วแห่งกองเจตสิก) จิตตปาคุญญตา (แห่งจิต) กายชุกตา (ความซื่อตรงแห่งกองเจตสิก) จิตตุชุกตา (แห่งจิต) ข.วีรตีเจตสิก (เจตสิกที่เป็นตัวงดเว้น) ๓ คือ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ ค.อัปปมัญญาเจตสิก (เจตสิกคืออัปปมัญญา) ๒ คือ กรุณา มุทิตา (อีก ๒ ซ้ำกับอโทสะและตัตรมัชฌัตตตา) ง.ปัญญินทรียเจตสิก ๑ คือ ปัญญินทรีย์ หรือ อโมหะ

ETipitaka Pali-Thai Dict : งด, more than 5 found, display 1-5
  1. อวรต : ค. หยุด, งด
  2. ปฏิพนฺธติ : ก. งด (ไม่ให้) , ลดหย่อน (ของที่ให้)
  3. ฐปน : นป., ฐปนา อิต. การตั้งขึ้น, การยกขึ้น, การวางไว้, การรักษาไว้, การแต่งตั้ง, การสถาปนา; การงด, การหยุดไว้ (ในคำว่า ปาฏิโมกฺขฐปน การงดสวดปาฏิโมกข์)
  4. ปฏิวิรต : ค. ผู้งดเว้นแล้ว, ผู้เว้นขาดแล้ว
  5. ปฏิวิรติ : อิต. การงดเว้น, การเว้นขาด
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : งด, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : งด, 1 found, display 1-1
  1. งดเว้น : วิรมติ, ปฏิวิรวโต

(0.1145 sec)