Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: จะก , then จก, จะก, จะกะ, จาก .

Eng-Thai Lexitron Dict : จะก, more than 7 found, display 1-7
  1. ab- : (PRF) ; จาก ; Related:ออกจาก
  2. von : (PREP) ; จาก ; Related:ของ, มาจาก, ที่
  3. a- : (PRF) ; จาก
  4. at : (PREP) ; จาก ; Syn:from
  5. dis- : (PRF) ; จาก ; Related:แตกไป, ไม่, ใช้แสดงความหมายในแง่ลบ
  6. from : (PREP) ; จาก
  7. leave 1 : (VT) ; ออกจาก ; Related:จาก ; Syn:depart
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : จะก, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : จะก, more than 7 found, display 1-7
  1. จาก : (N) ; a kind of Thai dessert ; Syn:ขนมจาก ; Def:ชื่อขนมชนิดหนึ่งทำด้วยแป้งข้าวเหนียวผสมกับน้ำตาล ห่อด้วยใบจากแล้วปิ้ง ; Samp:คุณยายชอบทานขนมจากมาก ; Unit:ชิ้น
  2. จาก : (V) ; depart ; Related:leave, go away from ; Syn:ไปจาก, จากไป ; Ant:กลับมา ; Def:ออกพ้นไป ; Samp:เขาจากบ้านเกิดเมืองนอนมาเรียนหนังสือที่กรุงเทพฯ ตั้งแต่ยังเล็ก
  3. จาก : (PREP) ; from ; Syn:ตั้งแต่ ; Ant:ถึง, จนกระทั่ง ; Samp:จากเมื่อวานถึงวันนี้ เขาก็ยังทำงานไม่เสร็จ
  4. จาก : (N) ; nipa palm ; Def:ชื่อปาล์มชนิดหนึ่ง ขึ้นเป็นกออยู่ตามป่าเลนหรือริมฝั่งน้ำกร่อยตื้นๆ ใบใช้มุงหลังคาและกรุฝา ออกดอกเป็นช่อยาว ผลรวมเป็นทะลาย กินได้ ; Samp:ทางแถบชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกจะเห็นจากขึ้นอยู่ทั่วไป ; Unit:ต้น
  5. ลูกจาก : (N) ; atap ; Related:nipa palm, Nipa fruticana ; Syn:จาก ; Def:ชื่อพรรณไม้จำพวกปาล์ม ใบใช้มุงหลังคาและกรุฝา ผลรับประทานได้ ; Samp:พ่อไปเก็บลูกจากในสวนทุกวัน ; Unit:ลูก, ผล
  6. ออกจาก : (V) ; depart ; Related:leave ; Syn:จาก ; Samp:รถไฟเคลื่อนออกจากสถานีได้ 30 นาทีแล้ว
  7. จากกัน : (V) ; be separated ; Related:part from, break up with, diverge from, be estranged with, divide from ; Syn:แยกกัน, ลาจาก, ไปจากกัน, พลัดพรากกัน, พรากกัน ; Def:แยกกันไปคนละทิศละทาง, แยกออกจากกันไป ; Samp:ผู้ใหญ่ทั้งสองฝ่ายไม่เห็นด้วย ทำให้เราสองคนต้องจากกันตั้งแต่นั้นมา
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : จะก, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : จะก, more than 5 found, display 1-5
  1. จก : ก. ฉก เช่น ระวังงูจะจกเอา, ล้วง เช่น รู้สึกเหมือนกับว่ามีมือใครมาจกกระเป๋า, ควัก เช่น น้องคงแอบมาจกเงินไป ๕๐๐ บาท, ขุด เช่น จกแรง ๆ หน่อย ทำอย่างนี้พรุ่งนี้ก็ไม่ได้สักหลุม, คุ้ย, สับ เช่น เอาจอบจกลงไปตรงนั้นซิ; เอาตัวมา เช่น คุณต้องไปจกตัวเขามาให้ได้.
  2. เขม้น : [ขะเม่น] ก. เพ่ง, จ้องดู, มุ่งโดยเฉพาะ เช่น ฝ่ายผู้ได้พิจารณาว่ากล่าว บางคนก็ลำเอียงไปว่าทรัพจะได้เปนหลวง เขม้นว่ากล่าวกันโชกข่มขี่ จเอาแต่ทรัพเปนหลวงจงได้. (สามดวง), มักใช้เข้าคู่กับคำ มอง เป็น เขม้นมอง หรือ มองเขม้น, (โบ) เขียนเป็น ขเม่น ก็มี เช่น ขเม่น, คือ คนฤๅสัตวแลดูสิ่งของใด ๆ เพ่งตาดูไม่ใคร่จะกพริบ. (ปรัดเล)
  3. จาก ๑ : น. ชื่อปาล์มชนิด Nypa fruticans Wurmb ในวงศ์ Palmae ขึ้นเป็นกอ อยู่ตามป่าเลนหรือริมฝั่งนํ้ากร่อยตื้น ๆ ใบใช้มุงหลังคาและกรุฝา ออกดอก ทําด้วยแป้งข้าวเหนียวผสมมะพร้าวกับนํ้าตาล ห่อด้วยใบจากแล้วปิ้ง ว่า ขนมจาก.
  4. จาก ๒ : ก. ออกพ้นไป เช่น จากบ้านจากเมือง จากลูกจากเมีย. บ. คํานําหน้านาม บอกต้นทางที่มา เช่น ดื่มนํ้าจากแก้ว เขามาจากอยุธยา; ตั้งแต่ เช่น จากเช้าจดคํ่า.
  5. จาก ๓ : น. ชื่อปูชนิด Varuna litterata ในวงศ์ Grapsidae ตัวเล็ก อาศัยอยู่ตามป่า จากในเขตน้ำกร่อยหรือน้ำเค็ม.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : จะก, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : จะก, more than 5 found, display 1-5
  1. เกษมจากโยคธรรม : ปลอดภัยจากธรรมเครื่องผูกมัด, ปลอดโปร่งจากเรื่องที่จะต้องถูกเทียมแอก, พ้นจากภัยคือกิเลสที่เป็นตัวการสวมแอก ดู โยคเกษมธรรม
  2. ฉิบหายเสียจากคุณอันใหญ่ : ไม่ได้บรรลุโลกุตตรธรรม, หมดโอกาสที่จะบรรลุโลกุตตรธรรม
  3. มหาสัจจกสูตร : สูตรที่ ๓๖ ในคัมภีร์มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ พระสุตตันตปิฎก ว่าด้วยการอบรมกาย อบรมจิต และมีเรื่องราวในพุทธประวัติตอนแสวงหาโมกขธรรมคือ ตอนตรัสรู้รวมอยู่ด้วย
  4. กฐิน : ตามศัพท์แปลว่า ไม้สะดึง คือไม้แบบสำหรับขึงเพื่อตัดเย็บจีวร; ในทางพระวินัยใช้เป็นชื่อเรียกสังฆกรรมอย่างหนึ่งที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตแก่สงฆ์ผู้จำพรรษาแล้ว เพื่อแสดงออกซึ่งความสามัคคีของภิกษุที่ได้จำพรรษาอยู่ร่วมกัน โดยให้พวกเธอพร้อมใจกันยกมอบผ้าผืนหนึ่งที่เกิดขึ้นแก่สงฆ์ ให้แก่ภิกษุรูปใดรูปหนึ่งในหมู่พวกเธอ ที่เป็นผู้มีคุณสมบัติสมควร แล้วภิกษุรูปนั้นนำผ้าที่ได้รับมอบไปทำเป็นจีวร (จะทำเป็นอันตรวาสก หรืออุตตราสงค์ หรือสังฆาฏิก็ได้ และพวกเธอทั้งหมดจะต้องช่วยภิกษุนั้นทำ) ครั้นทำเสร็จแล้ว ภิกษุรูปนั้นแจ้งให้ที่ประชุมสงฆ์ซึ่งได้มอบผ้าแก่เธอนั้นทราบเพื่ออนุโมทนา เมื่อสงฆ์คือที่ประชุมแห่งภิกษุเหล่านั้นอนุโมทนาแล้ว ก็ทำให้พวกเธอได้สิทธิพิเศษที่จะขยายเขตทำจีวรให้ยาวออกไป (เขตทำจีวรตามปกติ ถึงกลางเดือน ๑๒ ขยายต่อออกไปถึงกลางเดือน ๔); ผ้าที่สงฆ์ยกมอบให้แก่ภิกษุรูปหนึ่งนั้น เรียกว่า ผ้ากฐิน (กฐินทุสสะ); สงฆ์ผู้ประกอบกฐินกรรมต้องมีจำนวนภิกษุอย่างน้อย ๕ รูป; ระยะเวลาที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้ประกอบกฐินกรรมได้ มีเพียง ๑ เดือน ต่อจากสิ้นสุดการจำพรรษา เรียกว่า เขตกฐิน คือตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒
  5. กถาวัตถุ : ถ้อยคำที่ควรพูด, เรื่องที่ควรนำมาสนทนากันในหมู่ภิกษุ มี ๑๐ อย่างคือ ๑.อัปปิจฉกถา ถ้อยคำที่ชักนำให้มีความปรารถนาน้อย ๒.สันตุฏฐิกถา ถ้อยคำที่ชักนำให้มีความสันโดษ ๓.ปวิเวกกถา ถ้อยคำที่ชักนำให้มีความสงัดกายสงัดใจ ๔.อสังสัคคกถา ถ้อยคำที่ชักนำให้ไม่คลุกคลีด้วยหมู่ ๕.วิริยารัมภกถา ถ้อยคำที่ชักนำให้ปรารภความเพียร ๖.สีลกถา ถ้อยคำที่ชักนำให้ตั้งอยู่ในศีล ๗.สมาธิกถา ถ้อยคำที่ชักนำให้ทำจิตมั่น ๘.ปัญญากถา ถ้อยคำที่ชักนำให้เกิดปัญญา ๙.วิมุตติกถา ถ้อยคำที่ชักนำให้ทำใจให้พ้นจากกิเลสและความทุกข์ ๑๐.วิมุตติญาณทัสสนกถา ถ้อยคำที่ชักนำให้เกิดความรู้ความเห็นในภาวะที่หลุดพ้นจากกิเลสและความทุกข์ - 1. "Points of controversy"; name of the fifth book of the Abidhamma Pitaka. 2.a subject of discussion.
  6. Budhism Thai-Thai Dict : จะก, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : จะก, more than 5 found, display 1-5
  1. ปิสาจ, - จก : ป. ปีศาจ, ผี, สัตว์มีกายทิพย์จำพวกหนึ่ง
  2. จากวาก : (ปุ.) นกจากพาก, นกจากพราก, นกจักรพาก, นกจักรวาก. เป็นนกจำพวก นกเป็ดน้ำ. ส. จกฺรวาก.
  3. กฏน : นป. กรรมชั่ว, หญ้าคา, จาก
  4. กีจก : (ปุ.) ไม้ไผ่อันลมถูกต้องแล้วย่อมบันลือ เสียง, ไม้ไผ่เหล่าใดโยคไหวด้วยลมย่อม บันลือเสียง เพราะมีรูอันสัตว์มีหนอน เป็นต้นทำแล้ว ไม้ไผ่เหล่านั้น ชื่อ กีจกะ วิ. อนิเลน ปกมฺปิตา เย เวณู กีฏาทีหิ กตรนฺธตาย นทนฺติ เต กีจกา. จกิ อามสเน, ณฺวุ, พฺยญฺชนานํ วิปริยาโย (เปลี่ยนพยัญชนะคือเอา ก ไว้หน้า จ). เป็น กิจก บ้าง. ส. กีจก ไม้ไผ่สีกันดัง ออดแอด.
  5. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : จะก, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : จะก, more than 5 found, display 1-5
  1. ลงจากที่สูง : โอรุยฺห
  2. ลุกขึ้นจากที่ : อุฏฺฐาย
  3. ลุกขึ้นออกจากฌาน : วุฏฺฐาย
  4. เว้นจากความประมาท : ปมาทรหิโต
  5. ออกจากครรภ์ : วุฏฺฐาย, นิกิขมนํ, วุฏฺฐานํ
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : จะก, more results...

(0.3794 sec)