Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ชั้นต้น , then ชนตน, ชั้นต้น .

Eng-Thai Lexitron Dict : ชั้นต้น, 2 found, display 1-2
  1. initial : (ADJ) ; ชั้นต้น ; Related:เบื้องต้น, เริ่มแรก ; Syn:beginning, introductory, primary
  2. preliminary : (N) ; ขั้นต้น ; Related:ขั้นแรก, เบื้องต้น, ชั้นต้น

Thai-Eng Lexitron Dict : ชั้นต้น, 2 found, display 1-2
  1. ชั้นต้น : (ADJ) ; initial ; Related:preliminary, preparatory, primary, beginning, lower, elementary ; Syn:ในขั้นแรก, ในขั้นต้น, ในขั้นปฐม ; Ant:ชั้นสุดท้าย, ขั้นสุดท้าย ; Samp:เขาพอใจในการประเมินผลชั้นต้น
  2. ชั้นต้น : (N) ; initial stage ; Related:beginning level, primary stage, lower level ; Syn:ขั้นแรก, ขั้นต้น ; Ant:ชั้นสุดท้าย, ขั้นสุดท้าย ; Samp:ในชั้นต้น ทุกคนต้องหัดวาดภาพทิวทัศน์ก่อน ; Unit:ชั้น

Royal Institute Thai-Thai Dict : ชั้นต้น, 3 found, display 1-3
  1. เถรภูมิ : [เถระพูม] น. ขั้นหรือชั้นแห่งพระเถระ, ทางคณะสงฆ์จัดภิกษุ เป็น ๓ ชั้น ชั้นต้น คือ นวกภูมิ (ชั้นใหม่) มีพรรษาตํ่ากว่า ๕ ชั้นกลาง คือ มัชฌิมภูมิ (ชั้นกลาง) มีพรรษาตั้งแต่ ๕ ถึง ๙ และชั้นสุดคือ เถรภูมิ (ชั้นพระเถระ) มีพรรษาตั้งแต่ ๑๐ ขึ้นไป.
  2. นวกภูมิ : [นะวะกะพูม] น. ขั้นหรือชั้นแห่งผู้ใหม่, ในคณะสงฆ์หมายถึง ภิกษุที่มีพรรษาต่ำกว่า ๕, ภิกษุจัดเป็น ๓ ชั้น ชั้นต้น คือ นวกภูมิ (ชั้นใหม่), ชั้นกลาง คือ มัชฌิมภูมิมีพรรษาตั้งแต่ ๕ ถึง ๙, และ ชั้นสูง คือ เถรภูมิ (ชั้นพระเถระ) มีพรรษาตั้งแต่ ๑๐ ขึ้นไป. (ป.).
  3. มัชฌิมภูมิ : [-พูม] น. ภูมิหรือชั้นของคนชั้นกลาง, ในคณะสงฆ์ หมายถึงภิกษุที่มีพรรษาตั้งแต่ ๕ ถึง ๙, ภิกษุจัดเป็น ๓ ชั้น ชั้นต้น คือ นวกภูมิ (ชั้นใหม่) มีพรรษาตํ่ากว่า ๕, ชั้นกลาง คือ มัชฌิมภูมิ, และชั้นสูง คือ เถรภูมิ (ชั้นพระเถระ) มีพรรษาตั้งแต่ ๑๐ ขึ้นไป. (ป.).

Budhism Thai-Thai Dict : ชั้นต้น, not found

ETipitaka Pali-Thai Dict : ชั้นต้น, 3 found, display 1-3
  1. นวกภูมิ : (อิต.) ชั้นต้น, ลำดับ, ฐานะต้น, ฯลฯ, นวกภูมิ คือชั้นหรือฐานะของคน ชั้นต้น ในพุทธศาสนา หมายถึง นักธรรม ชั้นตรี ธรรมศึกษาชั้นตรี พระชั้นต้น คือ ตั้งแต่อุปสมบทถึงพรรษาครบ ๕ ใน พจนาฯ นับตั้งแต่อุปสมบทถึงครบพรรษา ๔.
  2. นิกาย : (ปุ.) ที่อยู่, เรือน. วิ. นิจิยฺยเตฉาทิยเตตี นิกาโย. นิปุพโพ, จิ จเย, โย. แปลง จิ เป็น กาในเพราะยปัจ. ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, สภา, บริษัท, นิกาย ชื่อหมวด คัมภีร์ในพระสุตตันตปิฎก มี ๕ นิกาย คือ ๑. ทีฆนิกาย ๒. มัชฌิมนิกาย ๓. สังยุตตนิกาย ๔. อังคุตตรนิกาย และ ๕. ขุททกนิกาย ชื่อหมู่ชนผู้มีธรรมร่วม กันประพฤติธรรมร่วมกัน เช่น มหานิกาย. วิ. นิพฺพิเสเสน จิโนติ อวยเวติ นิกาโย. กุลํ สธมฺมีนํ สมานธมฺมานเมว ชนฺตูนํ คโณ นิกาโย นาม. ส. นิกาย.
  3. โอสธิ : (อิต.) ไม้ตายเมื่อมีผลแก่ (เช่นต้น กล้วยเป็นต้น). โย ผลปากาวสาเน มรติ, โส กทลีธญฺญาทิ โก โอสธิ นาม. ฎีกาอภิฯ ตาม วิ. นี้เป็น ปุ. อภิฯ วิ. โอโส ธียเต ยสฺสํ สา โอสธิ. ไม้ล้มลุก ก็ แปล.

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ชั้นต้น, not found

(0.1147 sec)