Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตั้งหลักแหล่ง, แหล่ง, หลัก, ตั้ง .

Eng-Thai Lexitron Dict : ตั้งหลักแหล่ง, more than 7 found, display 1-7
  1. keystone : (N) ; หลัก ; Related:แกน, แกนหลัก, หลักสำคัญ ; Syn:principle, main
  2. address : (N) ; หลักแหล่ง ; Related:ที่พัก, ที่อยู่อาศัย, ที่อยู่ ; Syn:residence, dwelling, home
  3. found on : (PHRV) ; ตั้งอยู่บนหลักการของ ; Syn:base on, found upon, ground on
  4. found upon : (PHRV) ; ตั้งอยู่บนหลักการของ ; Syn:base on, found on, ground on
  5. domicile : (VT) ; ทำให้อยู่เป็นหลักแหล่ง ; Related:พักแรม ; Syn:camp, house, lodge
  6. legitimate : (ADJ) ; ตามหลักการหรือกฎเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ; Related:ตามทำนองคลองธรรม ; Syn:sanctioned
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : ตั้งหลักแหล่ง, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ตั้งหลักแหล่ง, more than 7 found, display 1-7
  1. ตั้งหลักแหล่ง : (V) ; settle down ; Related:take up residence (/one's abode) ; Syn:ตั้งถิ่นฐาน, สร้างถิ่นฐาน, ตั้งรกราก ; Ant:โยกย้าย, อพยพ ; Samp:คนโบราณนิยมตั้งหลักแหล่งอยู่ริมแม่น้ำ
  2. ตั้งถิ่นฐาน : (V) ; settle down ; Related:have one's home, have one's domicile, take up residence, make one's home ; Syn:ตั้งรกราก, ตั้งหลักแหล่ง ; Def:อยู่อาศัยพักพิงหรืออยู่อาศัยทำมาหากิน ; Samp:เขาไปตั้งถิ่นฐานอยู่ที่ภาคเหนือกับลูกเมียได้หลายปีแล้ว
  3. ตั้งรกราก : (V) ; settle down ; Related:domicile, take up residence(/one's abode), live permanently, have one's home ; Syn:ตั้งถิ่นฐาน, ตั้งหลักแหล่ง ; Ant:โยกย้าย ; Samp:คุณปู่ของฉันมาตั้งรกรากอยู่ที่จังหวัดกาญจนบุรีตั้งแต่สมัยหนุ่มๆ
  4. ตั้ง : (V) ; stand erect ; Related:stand on end ; Syn:ตั้งชัน ; Def:ชูตัวหรือทำให้ทรงตัวในลักษณะที่ไม่ใช่นอนหรือล้ม ; Samp:ขนตั้งชันเมื่อได้ยินเสียงหมาหอน
  5. หลัก : (N) ; main principle ; Related:basic, core, main theme ; Syn:หลักการ, แก่น ; Def:สาระสำคัญ ; Samp:หน้าที่ของศูนย์นี้หลักใหญ่ก็คือการช่วยเหลือในรูปของสวัสดิการ
  6. หลัก : (N) ; principle ; Related:tenet ; Syn:หลักการ, แก่น ; Def:สาระสำคัญ ; Samp:หน้าที่ของศูนย์นี้หลักใหญ่ก็คือ การช่วยเหลือในรูปของสวัสดิการ
  7. ตั้ง : (V) ; establish ; Related:form, stand, set up, erect, found ; Syn:สร้าง, ก่อตั้ง, จัดตั้ง, แต่งตั้ง ; Def:ทำให้มีขึ้นหรือสร้างให้มีขึ้น เช่น ตั้งตำแหน่งใหม่, ตั้งบ้านตั้งเรือน ; Samp:ัฐบาลได้ตั้งศูนย์ปฏิบัติการปราบปรามยาเสพติดแห่งชาติขึ้นเมื่อปลายปี 2541
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ตั้งหลักแหล่ง, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ตั้งหลักแหล่ง, more than 5 found, display 1-5
  1. ตั้ง : ก. ชูตัว, ชูตัวหรือทําให้ทรงตัวในลักษณะที่ไม่ใช่นอนหรือล้ม, เช่น ขนตั้งชัน ต้นข้าว เอนแล้วกลับตั้งขึ้น ตั้งขวด ตั้งตุ๊กตา; ทรง, ดํารง, เช่น ตั้งอยู่ในคลองธรรม ตั้งอยู่ในศีลในธรรม; ทําให้มีขึ้น, สร้างให้มีขึ้น, เช่น ตั้งตําแหน่งใหม่ ตั้งบ้านตั้งเรือน; ยกฐานะให้สูงขึ้น เช่น ตั้งพระราชาคณะ ตั้ง เปรียญ; กําหนด เช่น ตั้งราคา; วาง เช่น ตั้งสํารับ; วางซ้อนกันมาก ๆ เช่น ตั้งหนังสือเป็นกองสูง; เริ่ม, เริ่มมี, เช่น ตั้งครรภ์ ตั้งเค้า ตั้งท้อง. บ. คําแสดงความหมายว่า มาก หรือ นาน เช่น เสียตั้งชั่ง ไปตั้งปี. น. ลักษณนามเรียกของที่วางซ้อนกันมาก ๆ เช่น หนังสือตั้งหนึ่ง หนังสือ ๒ ตั้ง, ครั้ง เช่น มาลองกันดูสักตั้ง. ตั้งกรม ก. สถาปนาเจ้านายขึ้นทรงกรม. ตั้งเข็ม, ตั้งเป้าหมาย ก. ตั้งความมุ่งหมาย, กําหนดจุดมุ่งหมาย. ตั้งไข่ ก. สอนยืน (ใช้แก่เด็ก). ตั้งเค้า ก. เริ่มแสดงท่าทีให้รู้ว่าจะเกิดอะไรขึ้น เช่น ฝนตั้งเค้า. ตั้งแง่ ก. ทําชั้นเชิง, ไม่ตรงไปตรงมา, คอยหาเรื่องจับผิด. ตั้งใจ, ตั้งอกตั้งใจ ก. เอาใจจดใจจ่อ. ตั้งต้น ก. เริ่มทํา, ขึ้นต้น. ตั้งตัว ก. ตั้งฐานะหรือตั้งหลักฐาน; ยกย่องตัว, สถาปนาตัว, เช่น ตั้งตัวเป็นหัวหน้า ตั้ง ตัวเป็นใหญ่. ตั้งตาคอย ก. เฝ้าคอย. ตั้งแต่ บ. นับจากเวลาหนึ่งหรือสถานที่หนึ่งเป็นต้นไป (มักใช้เข้าคู่กับคำ จนถึง หรือ จน กระทั่ง). ตั้งแต่ง ก. ยกขึ้น, สถาปนา. ตั้งโต๊ะ ก. จัดโต๊ะอาหาร; จัดโต๊ะหมู่บูชา. ตั้งท้อง ว. เรียกข้าวที่มีรวงอ่อน ๆ ว่า ข้าวตั้งท้อง. ตั้งท่า ก. วางท่า; เตรียมตัวพร้อม, คอยทีอยู่. ตั้งธาตุ ก. จัดระบบการย่อยอาหารให้เป็นปรกติ. ตั้งนาฬิกา ก. เทียบนาฬิกาให้ตรงเวลา. ตั้งนาฬิกาปลุก ก. ตั้งเวลาให้นาฬิกาปลุกตามที่ต้องการ. ตั้งหน้า, ตั้งหน้าตั้งตา ก. มุ่งหน้า; ตั้งใจทํา, ทําอย่างจริงจัง, มุ่งมั่น. ตั้งหัวเรือ ก. ทําให้เรืออยู่ในแนว ไม่ให้หัวเรือส่ายไปมา. ตั้งอกตั้งใจ ก. เอาใจจดจ่อ, ตั้งใจ ก็ว่า.
  2. แหล่ง : [แหฺล่ง] น. ถิ่น, ที่อยู่, บริเวณ, ศูนย์รวม, บ่อเกิด, แห่ง, ที่.
  3. หลักแหล่ง : น. ที่ซึ่งอยู่ประจํา เช่น ทำงานเป็นหลักแหล่ง ตั้งบ้านเรือนเป็น หลักแหล่ง.
  4. เป็นหลักเป็นแหล่ง : ว. อยู่เป็นที่เป็นทางไม่โยกย้ายไปมา เช่น เขามี ที่อยู่เป็นหลักเป็นแหล่ง.
  5. ลงหลักปักฐาน : (สำ) ก. ตั้งที่อยู่ทำมาหากินเป็นหลักแหล่ง.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ตั้งหลักแหล่ง, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ตั้งหลักแหล่ง, more than 5 found, display 1-5
  1. ประดิษฐาน : ตั้งไว้, แต่งตั้ง, หัวข้อหลัก
  2. แผ่เมตตา : ตั้งจิตปรารถนาดีขอให้ผู้อื่นมีความสุข; คำแผ่เมตตาที่ใช้เป็นหลักว่า สพฺเพ สตฺตา อเวรา อพฺยาปชฺฌา อนีฆา สุขี อตฺตานํ ปริหรนฺตุ แปลว่า ขอสัตว์ทั้งหลาย, (ที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกัน) หมดทั้งสิ้น, (จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด) อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย, (จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด) อย่าได้เบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย, (จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด) อย่าได้มีทุกข์กายทุกข์ใจเลย, จงมีความสุขกายสุขใจ, รักษาตน (ให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้น) เถิด.ข้อความในวงเล็บ เป็นส่วนที่เพิ่มเข้ามาในคำแปลเป็นภาษาไทย
  3. หลักกำหนดธรรมวินัย : หลักตัดสินธรรมวินัย หรือลักษณะตัดสินธรรม วินัย ๘ อย่าง คือ ก.ธรรมเหล่าใด เป็นไป ๑.เพื่อความย้อมใจติด ๒.เพื่อความประกอบทุกข์ ๓.เพื่อความพอกพูนกิเลส ๔.เพื่อความมักมากอยากใหญ่ ๕.เพื่อความไม่สันโดษ ๖.เพื่อความคลุกคลีในหมู่ ๗.เพื่อความเกียจคร้าน ๘.เพื่อความเลี้ยงยาก, ธรรมเหล่านี้ พึงรู้ว่าไม่ใช่ธรรม ไม่ใช่วินัย ไม่ใช่สัตถุศาสน์, ข.ธรรมเหล่าใดเป็นไป ๑.เพื่อความคลายหายติด ๒.เพื่อความไม่ประกอบทุกข์ ๓.เพื่อความไม่พอกพูนกิเลส ๔.เพื่อความมักน้อย ๕.เพื่อความสันโดษ ๖.เพื่อความสงัด ๗.เพื่อการประกอบความเพียร ๘.เพื่อความเลี้ยงง่าย, ธรรมเหล่านี้พึงรู้ว่า เป็นธรรม เป็นวินัย เป็นสัตถุศาสน์
  4. เดือน : ดวงจันทร์, ส่วนของปี คือปีหนึ่งมี ๑๒ เดือนบ้าง ๑๓ เดือนบ้าง (อย่างจันทรคติ); การที่นับเวลาเป็นเดือนและเรียกเวลาที่นับนั้นว่าเดือนก็เพราะกำหนดเอาข้างขึ้นข้างแรมของเดือน คือดวงจันทร์เป็นหลักมาตั้งแต่ตั้งเดิม ดูชื่อเดือนที่ มาตรา
  5. ราชสังคหวัตถุ : สังคหวัตถุของพระราชา, หลักการสงเคราะห์ประชาชนของนักปกครอง มี ๔ คือ ๑.สัสสเมธะ ฉลาดบำรุงธัญญาหาร ๒.ปุริสเมธะ ฉลาดบำรุงข้าราชการ ๓.สัมมาปาสะ ผูกผสานรวมใจประชา (ด้วยการส่งเสริมสัมมาอาชีพให้คนจนตั้งตัวได้) ๔.วาชไปยะ มีวาทะดูดดื่มใจ
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ตั้งหลักแหล่ง, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตั้งหลักแหล่ง, more than 5 found, display 1-5
  1. ปฏฺฐาน : นป. การเริ่มตั้งไว้, การตั้ง, การเริ่มต้น; จุดตั้งต้น, แหล่ง, เหตุ; ชื่อคัมภีร์ที่ ๗ แห่งอภิธรรมปิฎก
  2. ฐาน : นป. ฐานะ, การตั้งอยู่, การดำรงอยู่, การหยุดอยู่, ที่ตั้ง, หลักแหล่ง, ตำแหน่ง, เหตุ, โอกาส
  3. อุพฺพาสียติ : ก. อันเขาไม่ตั้งหลักแหล่ง, อันเขาไม่ทอดทิ้ง
  4. ฉนฺท : (ปุ.) สภาพผู้อาศัยจิตนอนอยู่, ความตั้ง ใจ, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความปรา- รถนา, ความต้องการ, ความอยาก, ความอยากได้, ความมุ่งหมาย, ความยินดี, ความรัก, ความรักใคร่, ความสมัคร, ความสมัครใจ, ความเต็มใจ, ความอยู่ในอำนาจ, อัธยาศัย, ตัณหา, พระเวท. ฉนฺทฺ อิจฺฉายํ, อ. ส. ฉนฺท. ฉนฺท ฉันท์ ชื่อคำประพันธ์อย่าง ๑ มีหลาย ชื่อ มีหลักการวางคำ ครุ ลหุ และจำนวน คำแต่ละบาทต่างๆ กัน วิ. วชฺชํ ฉาทยตีติ ฉนฺทํ. ฉทฺ สํวรเณ, อ, นิคฺคหิตาคโม. ส. ฉนฺทสฺ.
  5. ฐิติภาคิย : ค. ผู้มีส่วนแห่งความตั้งมั่น, ผู้มีหลักฐาน, ผู้มีความยั่งยืน
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ตั้งหลักแหล่ง, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ตั้งหลักแหล่ง, more than 5 found, display 1-5
  1. ตั้งครรภ์ : ตสฺสา คพฺโภ ปตฺฏฺฐาสิ
  2. ตั้งตน : ฐเปติ
  3. ตั้งมั่น : ปติฏฺฐาสิ
  4. ตั้งสำนัก : ปฏิวสติ
  5. หลักฐาน, เหตุผล : สาปเทโส
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ตั้งหลักแหล่ง, more results...

(0.2133 sec)