Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทราม .

Eng-Thai Lexitron Dict : ทราม, more than 7 found, display 1-7
  1. wicked : (ADJ) ; ชั่วร้าย ; Related:โฉด, เลว, คดในข้อ, ทราม ; Syn:evil, immoral, iniquitous ; Ant:moral, righteous, virtuous
  2. baseness : (N) ; ความเลวทราม ; Related:ความไม่ดี ; Syn:brutality, wickedness ; Ant:kindness, mercy
  3. beast : (N) ; คนเลวทราม ; Related:คนซึ่งร้าย, คนดุร้ายเหมือนสัตว์, มนุษย์ร้ายกาจ ; Syn:fiend
  4. blackguard : (N) ; ผู้ไม่ซื่อสัตย์และเลวทราม
  5. enormity : (N) ; ความเลวทราม ; Related:ความชั่วร้าย, ความเสื่อมศีลธรรม ; Syn:evil, outrage, wickedness
  6. Eng-Thai Lexitron Dict : ทราม, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ทราม, more than 7 found, display 1-7
  1. ทราม : (ADJ) ; bad ; Related:degraded, low, mean, menial, inferior, decadent, deteriorating, degenerating, immoral ; Syn:เสื่อม, เลว, ชั่ว, สถุล, เลวทราม, ชั่วร้าย ; Ant:ดี, งาม ; Samp:ความทรงจำอันงดงามในวัยเด็ก ไม่อาจเกิดขึ้นในครอบครัวที่เลว และสังคมที่ทราม
  2. ทราม : (ADV) ; profusely ; Related:overflowingly, extensively, vastly ; Def:ไหลอาบเป็นแห่งๆ ; Samp:เลือดไหลทรามลงมาที่ขาของเขา
  3. ทรามเชย : (N) ; beautiful woman ; Related:beautiful girl ; Syn:ทรามชม, ทรามสงวน, ทรามสวาท ; Def:หญิงงามน่ารัก, นางงามผู้เป็นที่รัก
  4. ใจทราม : (ADJ) ; mean ; Related:immoral, vile, base, meanspirited ; Syn:ใจต่ำ, ใฝ่ต่ำ, ใจต่ำทราม ; Samp:เขาถูกมองว่าเป็นคนใจทรามที่ชอบทำร้ายผู้หญิง
  5. ใจทราม : (V) ; have an evil heart ; Related:be immoral, be mean, be base ; Syn:ใจต่ำ, ใฝ่ต่ำ, ใจต่ำทราม ; Def:มีใจใฝ่ในทางเสีย, นึกคิดแต่ในทางเลว ; Samp:การมีจิตใจทรามจะทำให้ประสบความสำเร็จในชีวิตยาก
  6. ต่ำทราม : (ADJ) ; depraved ; Related:wicked, evil, vicious, vile, despicable, dirty ; Syn:ชั่วช้า, ต่ำช้า, เลวทราม, สามานย์, เลว ; Ant:ดีงาม ; Def:ที่คิดหรือทำไม่ดีเพราะจงใจฝ่าฝืนศีลธรรมหรือจารีตประเพณีเป็นต้น ; Samp:โจรพวกนี้มีจิตใจต่ำทราม ฆ่าได้ทุกคนไม่เว้นแม้แต่เด็กหรือคนแก่
  7. ความเลวทราม : (N) ; wickedness ; Related:badness, immorality, depravity ; Syn:ความต่ำช้า, ความชั่วช้า ; Def:ความไม่ดี, การกระทำชั่วช้าเพราะจงใจฝ่าฝืนศีลธรรม ; Samp:ทุกคนรู้จักความเลวทรามของมันดี แต่มันก็ยังลอยหน้าอยู่ได้
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ทราม, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ทราม, more than 5 found, display 1-5
  1. ทราม : [ซาม] ว. เลว เช่น ใจทราม, เสื่อม เช่น ปัญญาทราม จิตทราม; ไหลอาบ เป็นแห่ง ๆ เช่น เลือดไหลทรามลงตามขา.
  2. ทรามสงวน, ทรามสวาท : [ซาม-] น. หญิงงามน่ารัก, นางงามผู้เป็นที่รัก.
  3. ชั่ว ๒ : ว. เลว, ทราม, ร้าย, ไม่ดีเพราะจงใจฝ่าฝืนศีลธรรมหรือจารีต ประเพณีเป็นต้น เช่น คนชั่ว.
  4. ช้า ๒ : ว. หยาบ, ชั่ว, เลว, ทราม, เช่น ยายฟังสารยายสั่นหัว ยายเคยลองแต่ตัวชั่วตัวช้า. (ลอ).
  5. ทุ ๑ : ว. คําอุปสรรคในภาษาบาลีและสันสกฤต แปลว่า ชั่ว, ยาก, ลําบาก, เลว, ทราม, เช่น ทุจริต ว่า ความประพฤติชั่ว, ทุกร ว่า ทําได้โดยยาก, ทุปปัญญา ว่า ปัญญาทราม เป็นต้น. (ดู ทุร ประกอบ). (ป., ส. เดิม เป็น ทุสฺ), ทุ นี้เมื่ออยู่หน้าคําอื่นตามหลักไวยากรณ์ภาษาบาลีและ สันสกฤต กําหนดให้เติมตัวสะกดลงตัวหนึ่งเพื่อให้เท่าของเดิม เช่น ทุ + คติ เป็น ทุคคติ, ทุ + จริต เป็น ทุจจริต, ตัวสะกดนั้นดูพยัญชนะ คําหลังเป็นเกณฑ์ ถ้าพยัญชนะวรรคคําหลังเป็นอักษรสูงหรืออักษร กลางก็ใช้พยัญชนะที่ ๑ แห่งวรรคนั้นสะกด เช่น ทุ + กร เป็น ทุกกร, ทุ + ข เป็น ทุกข, ถ้าเป็นพยัญชนะวรรคคำหลังเป็นอักษรต่ำ ก็ใช้พยัญชนะที่ ๓ แห่งวรรคนั้นสะกด เช่น ทุ + คติ เป็น ทุคคติ, ทุ + ภาษิต เป็น ทุพภาษิต, อีกอย่างหนึ่งว่า ถ้าพยัญชนะคําหลังเป็น อักษรตํ่า ก็ใช้เติม ร แทนตัวสะกดได้ทุกวรรค เช่น ทุรชน ทุรพล ทุรภิกษ์ ทุรยศ ทุรลักษณ์, หรือเอาสระ อุ ออกเสียก็มี เช่น ทรชน ทรพล ทรพิษ ทรยศ ทรลักษณ์, ในวิธีหลังนี้บางมติว่า เอา อุ เป็น ร (ใช้ไปถึงคํา ทรกรรม ด้วย) และเมื่ออยู่หน้าสระก็เติม ร เช่น ทุ + อาจาร เป็น ทุราจาร, ทุ + อาธวา เป็น ทุราธวา.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ทราม, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ทราม, 7 found, display 1-7
  1. จัญไร : ชั่วร้าย, เลวทราม, เสีย
  2. จัณฑาล : ลูกต่างวรรณะ เช่นบิดาเป็นศูทร มารดาเป็นพราหมณ์ มีลูกออกมา เรียกว่า จัณฑาล ถือว่าเป็นคนต่ำทราม ถูกเหยียดหยามที่สุดในระบบวรรณะของศาสนาพราหมณ์
  3. ตัสสาปาปิยสิกากรรม : กรรมอันสงฆ์พึงทำเพราะความที่ภิกษุนั้นเป็นผู้เลวทราม, กรรมนี้สงฆ์ทำแก่ภิกษุผู้เป็นจำเลยในอนุวาทาธิกรณ์ ให้การกลับไปกลับมา เดี๋ยวปฏิเสธ เดี๋ยวสารภาพ พูดถลากไถล พูดกลบเกลื่อนข้อที่ถูกซัก พูดมุสาซึ่งหน้า สงฆ์ทำกรรมนี้แก่เธอเป็นการลงโทษตามความผิดแม้ว่าเธอจะไม่รับ หรือเพื่อเพิ่มโทษจากอาบัติที่ต้อง
  4. ปัพพาชนียกรรม : กรรมอันสงฆ์พึงทำแก่ภิกษุอันพึงจะไล่เสีย, การขับออกจากหมู่, การไล่ออกจากวัด, กรรมนี้สงฆ์ทำแก่ภิกษุผู้ประทุษร้ายสกุลและประพฤติเลวทรามเป็นข่าวเซ็งแซ่ หรือแก่ภิกษุผู้เล่นคะนอง ๑ อนาจาร ๑ ลบล้างพระบัญญัติ ๑ มิจฉาชีพ ๑ (ข้อ ๓ ในนิคหกรรม ๖)
  5. ปาปสมาจาร : ความประพฤติเหลวไหลเลวทราม ชอบสมคบกับคฤหัสถ์ด้วยการอันมิชอบ ที่เรียกว่าประทุษร้ายสกุล ดู กุลทูสก
  6. อัคคัญญสูตร : ชื่อสูตรที่ ๔ แห่งทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค พระสุตตันตปิฎก ทรงแสดงแก่สามเณรวาเสฏฐะ และสามเณรภารัทวาชะ ผู้ออกบวชจากตระกูลพราหมณ์ ทรงคัดค้านคำกล่าวอ้างของพวกพราหมณ์ ที่ถือว่าพราหมณ์เป็นวรรณะประเสริฐที่สุด และถือว่าชาติกำเนิดเป็นเครื่องตัดสินความประเสริฐ และความต่ำทรามของมนุษย์ ทรงแสดงให้เห็นว่าความประเสริฐหรือต่ำทรามนั้นอยู่ที่ความประพฤติ โดยมีธรรมเป็นเครื่องตัดสิน คนวรรณะต่างๆ ออกบวชในพระพุทธศาสนาแล้ว ย่อมชื่อว่าเป็นผู้เกิดจากธรรมเสมอกันหมด แล้วทรงแสดงความเป็นมาของสังคมมนุษย์ เริ่มแต่เกิดมีสัตว์ขึ้นในโลกแล้วเปลี่ยนแปลงตามลำดับ จนเกิดมีมนุษย์ที่อยู่รวมกันเป็นหมู่เป็นพวก เกิดความจำเป็นต้องมีการปกครอง และมีการประกอบอาชีพ การงานต่างๆ กัน วรรณะทั้ง ๔ ก็เกิดจากความเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ มิใช่เป็นเรื่องของพรหมสร้างสรรค์ แต่เกิดจากธรรม (ธรรมดา, กฎธรรมชาติ) ทุกวรรณะประพฤติชั่วก็ไปอบายได้ ปฏิบัติธรรมก็บรรลุนิพพานได้ ธรรมเป็นเครื่องตัดสิน และธรรมเป็นของประเสริฐสูงสุด ผู้ที่สิ้นอาสวกิเลสแล้ว เป็นผู้ประเสริฐสุดในวรรณะทั้ง ๔ ผู้ที่สมบูรณ์ด้วยวิชชาและจรณะ เป็นผู้ประเสริฐสุดในบรรดาเทวะ และมนุษย์ทั้งปวง
  7. อุปปถกิริยา : การทำนอกรีตนอกรอยของสมณะ, ความประพฤตินอกแบบแผนของภิกษุสามเณร ท่านจัดรวมไว้เป็น ๓ ประเภท คือ ๑) อนาจาร ประพฤติไม่ดีไม่งาม และเล่นไม่เหมาะสมต่างๆ ๒) ปาปสมาจาร ความประพฤติเลวทราม คือ คบหากับคฤหัสถ์ในทางที่ไม่สมควร ทำตนเป็นกุลทูสก ๓) อเนสนา หาเลี้ยงชีพในทางที่ไม่สมควร เช่น เป็นหมอเสกเป่า ให้หวย เป็นต้น

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทราม, more than 5 found, display 1-5
  1. ชมฺม : (วิ.) ต่ำ, เลว, ถ่อย, ทราม, ลามก, ผู้ไม่ ใคร่ครวญในคุณและโทษแล้วทำ. วิ. คุณ โทเส อนิสมฺม โย กโรติ โส ชมฺโม.
  2. ทีนตา : อิต., ทีนตฺต นป. ความเป็นคนจน, เข็ญใจ, มีทุกข์, เลว, ทราม, ต่ำช้า
  3. ทุ : (อัพ. อุปสรรค) ชั่ว, ยาก, ลำบาก, เลว, ทราม, เสีย, น้อย. ที่ใช้ในภาษาไทย เมื่ออยู่หน้าอักษรต่ำ แปลง ทุ เป็น ทร ทุร อุ. ทรชน ทุรชน. ส. ทุ.
  4. ทุฏฺฐุลฺล : ค., นป. ชั่วหยาบ, หยาบโลน, ต่ำ, ทราม; กรรมชั่ว, คำพูดหยาบโลน
  5. อธม : (วิ.) ผู้เกิดแล้วในส่วนเบื้องต่ำ, น่าชัง, ถ่อย, บกพร่อง, ชั่ว, เลว, ทราม, ต่ำช้า, ต่ำทราม, หย่อน. อธัม. วิ. อโธภาเค ชาโตอธโม. อิม ปัจ. ชาตาทิตัท. เอาโอ ที่อโธเป็น อ ลบ ภาค และ อิ ที่อิม ปัจ.โอสฺสอตฺตํ, ภาคโลโป, อิมปฺปจฺจเยอิโลโปจ.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ทราม, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ทราม, not found

(0.0505 sec)