Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทะ , then , ทะ, ทา .

Eng-Thai Lexitron Dict : ทะ, more than 7 found, display 1-7
  1. apply : (VT) ; ทา ; Related:ไล้, ฉาบ, ป้าย
  2. lay on 2 : (PHRV) ; ทา (บางสิ่ง) บน ; Related:ปู(บางสิ่ง)บน ; Syn:lay with, place on, put on, set on
  3. baste 1 : (VT) ; ทาน้ำมันหรือเนยเพื่อเพิ่มความชุ่มชื้นและรสชาตอาหาร ; Related:ทาน้ำมัน (เนื้อ) ในระหว่างอบ
  4. gum down : (PHRV) ; ทาด้วยกาว ; Related:ทากาว ; Syn:glue down, stick down, stick on
  5. gum on : (PHRV) ; ทาด้วยกาว ; Related:ทากาว ; Syn:glue down, stick down, stick on
  6. paint on : (PHRV) ; ทาต่อเนื่อง ; Related:ทาต่อไป
  7. paint over : (PHRV) ; ทาด้านบนของ ; Related:ทาเหนือ ; Syn:paper over, plaster over
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : ทะ, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ทะ, more than 7 found, display 1-7
  1. ทะร่อทะแร่ : (V) ; interfere ; Syn:สอด, ทะร่อท่อแร่ ; Def:เข้าไปเกี่ยวข้องทั้งๆ ที่ไม่มีหน้าที่
  2. ทะยาทะแยแส : (V) ; be generous ; Related:be concerned about, be interested in, care for ; Syn:แยแส, เอื้อเฟื้อ, เอาใจใส่ ; Def:เอาใจใส่เป็นพิเศษ
  3. ทะลุดทะลาด : (V) ; be hurried ; Related:be in haste, be thoughtless, be heedless ; Syn:พรวดพราด, ถลำถลาก
  4. กะทะ : (N) ; frying pan ; Related:pan ; Syn:กระทะ ; Def:ภาชนะก้นตื้นปากผาย ใช้สำหรับหุงต้มและทอด ; Samp:ข้าวผัดอยู่ในกะทะบนเตา ; Unit:ใบ, ลูก
  5. วาทะศิลป์, วาทศิลป์ : (N) ; rhetoric ; Def:รู้จักใช้ถ้อยคำสำนวนโวหารให้ประทับใจ ; Samp:งานนี้ขึ้นอยู่กับวาทะ
  6. ทะลักทะแลง : (V) ; be irregular ; Related:be disorder, be uncontrolled ; Ant:มีระเบียบ ; Def:ลักลั่นกัน, ไม่เป็นระเบียบ
  7. ทะลึ่งทะลั่ง : (V) ; rush ; Related:get in a hurry, hurry-scurry ; Syn:พรวดพราด
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ทะ, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ทะ, more than 5 found, display 1-5
  1. ทะ : (กลอน) ก. ปะทะ เช่น ของ้าวทบทะกัน. (ตะเลงพ่าย).
  2. ทะ : คําใช้นําหน้าคําที่ขึ้นต้นด้วยตัว ท ในบทกลอน มีความแปล อย่างเดียวกับคําเดิมนั้น หรือเป็นคําซํ้าซึ่งคําหน้าเสียงกร่อน ไป เช่น ทะทัด ก. สะบัด. ทะทา น. นกกระทา. ทะทาย ก. จับ, ถือ. ทะท่าว ก. ล้ม, ทบ, ซํ้า, ยอบ, เติม. ทะท้าว ว. อาการที่ตัวสั่นเทา ๆ. ทะทึก ว. อาการที่ใจเต้นตึก ๆ.
  3. ทะร่อทะแร่ : (ปาก) ก. เข้าไปเกี่ยวข้องทั้ง ๆ ที่ไม่มีหน้าที่, ทะร่อท่อแร่ ก็ว่า.
  4. ทะเทียด : น. กลองแขกมี ๒ หน้า หน้าหนึ่งใช้มือตี อีกหน้าหนึ่งใช้ไม้ตี ใช้ในกระบวนแห่.
  5. ทะยาทะแยแส : ก. เอาใจใส่เป็นพิเศษ, เอื้อเฟื้อ.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ทะ, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ทะ, more than 5 found, display 1-5
  1. สุภัททะ : ปัจฉิมสิกขิสาวก (สาวกผู้ทันเห็นองค์สุดท้าย) ของพระพุทธเจ้า เรียกสั้นๆ ว่า ปัจฉิมสาวก เดิมเป็นพราหมณ์ตระกูลใหญ่ ต่อมาออกบวชเป็นปริพาชก อยู่ในเมืองกุสินารา ในวันที่พระพุทธเจ้าจะเสด็จดับขันธปรินิพพาน สุภัททปริพาชกได้ยินข่าวแล้วคิดว่าตนมีข้อสงสัยอยู่อย่างหนึ่ง อยากจะขอให้พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมเพื่อแก้ข้อสงสัยนั้นเสียก่อนที่จะปรินิพพาน จึงเดินทางไปยังสาลวัน ตรงไปหาพระอานนท์ แจ้งความประสงค์ขอเข้าเฝ้าพระบรมศาสดา พระอานนท์ได้ห้ามไว้ เพราะเกรงว่าพระองค์เหน็ดเหนื่อยอยู่แล้ว จะเป็นการรบกวนให้ทรงลำบาก สุภัททปริพาชกก็คะยั้นคะยอจะขอเข้าเฝ้าให้ได้ พระอานนท์ก็ยืนกรานห้ามอยู่ถึง ๓ วาระ จนพระผู้มีพระภาคทรงได้ยินเสียงโต้ตอบกันนั้น จึงตรัสสั่งพระอานนท์ว่าสุภัททะมุ่งหาความรู้ มิใช่ประสงค์จะเบียดเบียนพระองค์ ขอให้ปล่อยให้เขาเข้าเฝ้าเถิด สุภัททปริพาชกเข้าเฝ้าแล้ว ทูลถามว่า สมณพราหมณ์เจ้าลัทธิที่มีชื่อเสียงทั้งหลาย คือ เหล่าครูทั้ง ๖ นั้น ล้วนได้ตรัสรู้จริงทั้งหมดตามที่ตนปฏิญญา หรือได้ตรัสรู้เพียงบางท่านหรือไม่มีใครตรัสรู้จริงเลย พระพุทธเจ้าทรงห้ามเสียและตรัสว่าจะทรงแสดงธรรม คือ หลักการหรือหลักความจริงให้ฟัง แล้วตรัสว่า อริยมรรคมีองค์ ๘ หาไม่ได้ในธรรมวินัยใด สมณะ (คืออริยบุคคลทั้ง ๔) ก็หาไม่ได้ในธรรมวินัยนั้น อริยมรรคมีองค์ ๘ หาได้ในธรรมวินัยใด สมณะก็หาได้ในธรรมวินัยนั้น อริยมรรคมีองค์ ๘ หาได้ในธรรมวินัยนี้ สมณะทั้ง ๔ จึงมีในธรรมวินัยนี้ ลัทธิอื่นๆ ว่างจากสมณะ และตรัสสรุปว่า ถ้าภิกษุทั้งหลายเป็นอยู่โดยชอบ โลกก็จะไม่ว่างจากพระอรหันต์ทั้งหลาย เมื่อจบพระธรรมเทศนา สุภัททปริพาชกเลื่อมใสทูลขอบรรพชาอุปสมบท พระพุทธเจ้าตรัสสั่งพระอานนท์ให้บวชสุภัททะในสำนักของพระองค์ โดยประทานพุทธานุญาตพิเศษให้ยกเว้นไม่ต้องอยู่ติตถิยปริวาส ท่านสุภัททะบวชแล้วไม่นาน (อรรถกถาว่าในวันนั้นเอง) ก็ได้บรรลุอรหัตตผล นับเป็นพุทธปัจฉิมสักขิสาวก
  2. สุภัททะ วุฒบรรพชิต : “พระสุภัททะผู้บวชเมื่อแก่” ซึ่งเป็นต้นเหตุแห่งการปรารภที่จะทำสังคายนาครั้งที่ ๑ ก่อนบวช เป็นช่างตัดผมในเมืองอาตุมา มีบุตรชาย ๒ คน เมื่อบวชแล้วคราวหนึ่งได้ข่าวว่าพระพุทธเจ้าพร้อมด้วยสงฆ์หมู่ใหญ่จะเสด็จมายังเมืองอาตุมา จึงให้บุตรทั้ง ๒ เอาเครื่องมือตัดผมออกไปเที่ยวขอตัดผมตามบ้านเรือนทุกแห่ง แลกเอาเครื่องปรุงยาคูมาได้มากมาย แล้วบัญชาการให้ผู้คนจัดเตรียมข้าวยาคูไว้เป็นอันมาก เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จมาถึง ก็นำเอาข้าวยาคูนั้นเข้าไปถวาย พระพุทธเจ้าตรัสถาม ทรงทราบความว่าพระสุภัททะได้ข้าวนั้นมาอย่างไรแล้ว ไม่ทรงรับและทรงติเตียน แล้วทรงบัญญัติสิกขาบท ๒ ข้อ คือ บรรพชิตไม่พึงชักชวนคนทำในสิ่งที่เป็นอกัปปิยะ และภิกษุผู้เคยเป็นช่างกัลบกไม่พึงเก็บรักษาเครื่องตัดโกนผมไว้ประจำตัว จากการที่ได้ถูกติเตียนและเสียของเสียหน้าเสียใจ ในเหตุการณ์ครั้งนั้น พระสุภัททะก็ได้ผูกอาฆาตไว้ ต่อมา เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพานแล้วได้ ๗ วัน พระสุภัททะร่วมอยู่ในคณะของพระมหากัสสปเถระ ซึ่งกำลังเดินทางจากเมืองปาวาสู่เมืองกุสินารา ระหว่างทางนั้น คณะได้ทราบข่าวพุทธปรินิพพานจากอาชีวกผู้หนึ่ง ภิกษุทั้งหลายที่ยังไม่สิ้นราคะ (คือพระปุถชน โสดาบัน และสกทาคามี) พากันร้องไห้คร่ำครวญเป็นอันมาก ในขณะนั้นเอง พระสุภัททะวุฒบรรพชิต ก็ร้องห้ามขึ้นว่า “อย่าเลย ท่านผู้มีอายุ พวกท่านอย่าเศร้าโศก อย่าร่ำไห้ไปเลย พวกเราพ้นดีแล้ว พระมหาสมณะนั้นคอยเบียดเบียนพวกเราว่าสิ่งนี้ควรแก่เธอ สิ่งนี้ไม่ควรแก่เธอ บัดนี้พวกเราปรารถนาสิ่งใด ก็จักกระทำสิ่งนั้น” พระมหากัสสปเถระได้ฟังแล้วเกิดธรรมสังเวช ดำริว่า พระพุทธเจ้าปรินิพพานเพียง ๗ วัน ก็ยังเกิดเสี้ยนหนามขึ้นแล้วในพระศาสนา หากต่อไปคนชั่วได้พวกพ้องมีกำลังเติบกล้าขึ้น ก็จะทำพระศาสนาให้เสื่อมถอย ดังนั้น หลังจากเสร็จงานถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระแล้ว ท่านจึงได้ยกถ้อยคำของสุภัททะวุฒบรรพชิต นี้ขึ้นเป็นข้อปรารภ ชักชวนพระเถระทั้งหลายร่วมกันทำสังคายนาครั้งแรก
  3. ชาติสุททะ : พวกสุททะ, คนพวกวรรณะศูทร เป็นคนชั้นต่ำในชมพูทวีป ดู ศูทร
  4. ปมาทะ : ความประมาท, ความเลินเล่อ, ความเผลอ, ความขาดสติ, ความปล่อยปละละเลย เทียบ อัปปมาทะ
  5. จุนทะ : พระเถระผู้ใหญ่ชั้นมหาสาวกเป็นน้องชายของพระสารีบุตร เคยเป็นอุปัฏฐากของพระพุทธองค์ และเป็นผู้นำอัฐิธาตุของพระสารีบุตรจากบ้าน เกิดที่ท่านปรินิพพานมาถวายแด่พระพุทธองค์ที่พระเชตวัน
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ทะ, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทะ, more than 5 found, display 1-5
  1. : (วิ.) ให้, ผู้ให้. ทา ทาเน, อ. อุ. ปโยท เมฆ.
  2. ททาติ : ก. ให้, มอบให้, บริจาค, ส่งให้, อนุญาต
  3. ทารุสมาทหาน : นป. การรวบรวมไม้, การเก็บไม้มารวมกัน, การเก็บฟืน
  4. ปุรินฺทท : (ปุ.) ปุรินททะ ชื่อขอพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๒๐ ชื่อ, พระอินทร์. วิ. ปุเร ปุริมํ วา ททาตีติ ปุรินฺทโท. ปุเร ทานํ อททีติ วา ปุรินฺทโท. ปุรปุพฺโพ, ททฺ ทาเน, อ. แปลง อ ที่ ร เป็น อึ เป็น ปุรึ เอานิคคหิตเป็น นฺ
  5. ปฏิททาติ : ก. ให้คืน, นำมาคืน, ให้ตอบ
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ทะ, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ทะ, more than 5 found, display 1-5
  1. กะทะ, ขัน : กโฬปี [อิ.]
  2. กะทะ, ถาดหิน : กปลฺลปาฏิ [อิ.]; กปลฺลํ, ลกํ [นป.]
  3. มีวาทะจัดจ้าน : ธุตวาท
  4. กระจาย, ทา, ละเลงแล้ว : อุปตฺต [กิ.]
  5. การทาตัว : องฺคราโค [ป.]
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ทะ, more results...

(0.1908 sec)