Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ธรรมวินัย, วินัย, ธรรม , then ธมฺม, ธรรม, ธรรมวินัย, ธรรมะ, ธรรมา, พินัย, วนย, วินัย .

Eng-Thai Lexitron Dict : ธรรมวินัย, more than 7 found, display 1-7
  1. rule : (N) ; วินัยทางศาสนา ; Syn:religious principles
  2. dogma : (N) ; หลักศาสนา ; Related:วินัย, กฎเกณฑ์, ข้อบังคับ, หลักความเชื่อ ; Syn:doctrine, principles, tenet
  3. demoralization : (N) ; การทำให้เสื่อมเสียศีลธรรม ; Related:การทำให้หมดศีลธรรม
  4. demoralizing : (ADJ) ; ซึ่งเสื่อมเสียศีลธรรม ; Related:ชวนให้เสื่อมเสียศีลธรรม
  5. immoral : (ADJ) ; ซึ่งผิดทำนองคลองธรรม ; Related:ผิดศีลธรรม, ผิดศีล, ซึ่งไม่เหมาะสม, ซึ่งไม่ซื่อสัตย์, ซึ่งขัดกับหลักคำสอน ; Syn:sinful, unethical, wicked ; Ant:moral, pious, pure
  6. immorality : (N) ; การผิดศีลธรรม ; Related:การผิดทำนองคลองธรรม ; Syn:sin, vice, wickedness ; Ant:morality
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : ธรรมวินัย, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ธรรมวินัย, more than 7 found, display 1-7
  1. ธรรมวินัย : (N) ; discipline ; Related:orderliness, order, control, restraint ; Syn:พระธรรมวินัย ; Def:พระธรรมและพระวินัย ; Unit:ฉบับ
  2. วินัย : (N) ; discipline ; Related:rule, regulation, regimen ; Syn:กฎเกณฑ์, ระเบียบ, หลักเกณฑ์ ; Def:ระเบียบสำหรับกำกับความประพฤติให้เป็นแบบแผนอันหนึ่งอันเดียวกัน ; Samp:ประชาชนชาวเกาหลีใต้มีวินัยและการศึกษาสูง ทำให้เกาหลีใต้จึงพัฒนาอย่างรวดเร็ว
  3. วินัย : (N) ; discipline ; Related:rule, regulation, regimen ; Syn:กฎเกณฑ์, ระเบียบ, หลักเกณฑ์ ; Def:ระเบียบสำหรับกำกับความประพฤติให้เป็นแบบแผนอันหนึ่งอันเดียวกัน ; Samp:ประชาชนชาวเกาหลีใต้มีวินัยและการศึกษาสูง ทำให้เกาหลีใต้จึงพัฒนาอย่างรวดเร็ว
  4. ธรรม : (N) ; doctrine ; Related:Teaching of Buddha, dharma ; Syn:คำสั่งสอน, คุณความดี, หลักธรรม ; Def:หลักคำสั่งสอนในศาสนา
  5. ธรรมจริยา : (N) ; observance of righteousness ; Related:religious life ; Syn:ธรรมจรณะ, ธรรมจรรยา, ธัมมจริยา ; Ant:ธรรมจริยา ; Def:การประพฤติเป็นธรรม, การประพฤติถูกธรรม ; Samp:พระภิกษุรูปนี้ท่านมีธรรมจริยาน่าเลื่อมใส
  6. ธรรมปฏิรูป : (N) ; counterfeit of moral rectitude ; Related:synthetic dharma ; Syn:ธรรมประติรูป, ธรรมปลอม ; Def:สิ่งที่ไม่แท้, ธรรมปลอมที่ไม่ใช่พุทธศาสนา
  7. ธรรมยุต : (N) ; Dhammyuttika ; Related:sect of Buddhist monks, sub-sect of the Thai theravada school of Buddhism ; Syn:ธรรมยุติกนิกาย ; Def:ชื่อนิกายหนึ่งของพุทธศาสนา
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ธรรมวินัย, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ธรรมวินัย, more than 5 found, display 1-5
  1. ธรรม ๑, ธรรม, ธรรม : [ทํา, ทํามะ] น. คุณความดี เช่น เป็นคนมีธรรมะ เป็นคนมีศีลมีธรรม; คําสั่งสอนในศาสนา เช่น แสดงธรรม ฟังธรรม ธรรมะของพระพุทธเจ้า; หลักประพฤติปฏิบัติในศาสนา เช่น ปฏิบัติธรรม ประพฤติธรรม; ความจริง เช่น ได้ดวงตาเห็นธรรม; ความยุติธรรม, ความถูกต้อง, เช่น ความเป็นธรรมในสังคม; กฎ, กฎเกณฑ์, เช่น ธรรมะแห่งหมู่คณะ; กฎหมาย เช่น ธรรมะระหว่างประเทศ; สิ่งทั้งหลาย, สิ่งของ, เช่น เครื่องไทยธรรม. (ส. ธรฺม; ป. ธมฺม).
  2. วินย, วินัย : [วินะยะ] น. ระเบียบแบบแผนและข้อบังคับ, ข้อปฏิบัติ, เช่น วินัยทหาร ทหารต้องยึดมั่นในวินัย; สิกขาบทของพระสงฆ์. (ป., ส.).
  3. ฤต : [รึด] น. กฎ, วินัย, (เช่นในพระศาสนา); ธรรมเนียม, ความจริง, ความ ชอบธรรม. (ส.).
  4. ธรรม : น. สมณศักดิ์พระราชาคณะ สูงกว่าชั้นเทพ ตํ่ากว่าชั้นหิรัญบัฏ เรียกว่า ชั้นธรรม เช่น พระธรรมโกศาจารย์ พระธรรมเจดีย์.
  5. ธรรม : คําประกอบท้ายคําที่เป็นนามธรรม เมื่อประกอบแล้วมีความหมายไม่ต่างไป จากคําศัพท์เดิม เช่น วัฒนธรรม อารยธรรม.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ธรรมวินัย, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ธรรมวินัย, more than 5 found, display 1-5
  1. ธรรมวินัย : ธรรมและวินัย, คำสั่งสอนทั้งหมดของพระพุทธเจ้า ซึ่งประกอบด้วย ธรรม= คำสอนแสดงหลักความจริงและแนะนำความประพฤติ, วินัย = บทบัญญัติกำหนดระเบียบความเป็นอยู่และกำกับความประพฤติ ; ธรรม= เครื่องควบคุมใจ, วินัย= เครื่องควบคุมกายและวาจา
  2. วินัย : ระเบียบแบบแผนสำหรับฝึกฝนควบคุมความประพฤติของบุคคลให้มีชีวิตที่ดีงามเจริญก้าวหน้าและควบคุมหมู่ชนให้อยู่ร่วมกันด้วยความสงบเรียบร้อยดีงาม, ประมวลบทบัญญัติข้อบังคับสำหรับฝึกฝนควบคุมความประพฤติ; วินัย มี ๒ อย่างคือ ๑.อนาคาริยวินัย วินัยของผู้ไม่ครองเรือน คือ วินัยของบรรพชิต หรือวินัยของพระสงฆ์ ได้แก่ การไม่ต้องอาบัติทั้ง ๗ หรือ ปาริสุทธิศีล ๔ ๒.อาคาริยวินัย วินัยของผู้ครองเรือน คือ วินัยของชาวบ้าน ได้แก่ การงดเว้นจากอกุศลกรรมบถ ๑๐ หรือ กุศลกรรมบท ๑๐
  3. ธรรม : สภาพที่ทรงไว้, ธรรมดา, ธรรมชาติ, สภาวธรรม, สัจจธรรม, ความจริง; เหตุ, ต้นเหตุ; สิ่ง, ปรากฏการณ์, ธรรมารมณ์, สิ่งที่ใจคิด; คุณธรรม, ความดี, ความถูกต้อง, ความประพฤติชอบ; หลักการ, แบบแผน, ธรรมเนียม, หน้าที่; ความชอบ, ความยุติธรรม; พระธรรม, คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ซึ่งแสดงธรรมให้เปิดเผยปรากฏขึ้น
  4. หลักกำหนดธรรมวินัย : หลักตัดสินธรรมวินัย หรือลักษณะตัดสินธรรม วินัย ๘ อย่าง คือ ก.ธรรมเหล่าใด เป็นไป ๑.เพื่อความย้อมใจติด ๒.เพื่อความประกอบทุกข์ ๓.เพื่อความพอกพูนกิเลส ๔.เพื่อความมักมากอยากใหญ่ ๕.เพื่อความไม่สันโดษ ๖.เพื่อความคลุกคลีในหมู่ ๗.เพื่อความเกียจคร้าน ๘.เพื่อความเลี้ยงยาก, ธรรมเหล่านี้ พึงรู้ว่าไม่ใช่ธรรม ไม่ใช่วินัย ไม่ใช่สัตถุศาสน์, ข.ธรรมเหล่าใดเป็นไป ๑.เพื่อความคลายหายติด ๒.เพื่อความไม่ประกอบทุกข์ ๓.เพื่อความไม่พอกพูนกิเลส ๔.เพื่อความมักน้อย ๕.เพื่อความสันโดษ ๖.เพื่อความสงัด ๗.เพื่อการประกอบความเพียร ๘.เพื่อความเลี้ยงง่าย, ธรรมเหล่านี้พึงรู้ว่า เป็นธรรม เป็นวินัย เป็นสัตถุศาสน์
  5. พร้อมหน้าธรรมวินัย : (ระงับอธิกรณ์) โดยนำเอาธรรมวินัย และสัตถุศาสน์ที่เป็นหลักสำหรับระงับอธิกรณ์นั้นมาใช้โดยครบถ้วน คือวินิจฉัยถูกต้องโดยธรรมและถูกต้องโดยวินัย (ธัมมสัมมุขตา วินยสัมมุขตา)
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ธรรมวินัย, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ธรรมวินัย, more than 5 found, display 1-5
  1. ธมฺมวินย : (ปุ.) ธรรมและวินัย, พระธรรมและพระวินัย, พระธรรมวินัย. วิ. ธมฺมโม จ วินโย จ ธมฺมวินโย. ส. ทิคุ. บทปลงไม่เป็น ธมฺมวินยํ หรือ ธมฺมวินยา เป็นลักษณะพิเสษของศัพทฺเหมือน ลาภสกฺกาโร.
  2. ธมฺมสคีติ ธมฺมสงฺคีติ : (อิต.) การร้อยกรองซึ่งธรรม, การสังคายนาซึ่งธรรม, การ ร้อยกรองธรรม, การสังคายนามธรรม (คือการชำระพระธรรมวินัย คัดเอาคำที่ถูกต้องไว้).
  3. คนฺถธุร : (นปุ.) กิจในคัมภีร์, การเล่าเรียน ความรู้ซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, การศึกษาคำ สั่งสอนซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, คันถธุระ ชื่อ ธุระอย่าง ๑ ใน ๒ อย่าง ของพระพุทธ ศาสนา. การเล่าเรียนพระปริยัติธรรมคือ คำสั่งสอน แล้วทรงจำไว้กล่าวสอนไม่ให้ ผิดไปจากหลักตัดสินพระธรรมวินัย ชื่อว่า คันถธุระ. เป็นหน้าที่ของพุทธศาสนิกชน โดยเฉพาะพระภิกษุและสามเณร. ธุระ อีกอย่างหนึ่งคือ วิปัสสนาธุระ.
  4. ตชฺชนียกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์พึงทำแก่ ภิกษุผู้อันสงฆ์จะต้องคุกคาม, ตัชนียกรรม เป็นชื่อการลงโทษอย่างหนึ่งตามพระวินัย ซึ่งสงฆ์ทำแก่ภิกษุผู้มีความผิด ๓ ประการ คือ เป็นผู้ประพฤติไม่เหมาะสม คือ ๑ . ๑ มักทำการบาดหมาง ทะเลาะ – วิวาท ฯลฯ ๑ . ๒ เป็นพาลมีอาบัติมาก มีมรรยาท ไม่สมควร ๑ . ๓ คลุกคลีกับคฤหัสถ์อันไม่ สมควร เป็นผู้มีศีลวิบัติ อาจารวิบัติ และ ทิฏฐิวิบัติ และ ๓. กล่าวติเตียน พระพุทธ พระธรรม หรือพระสงฆ์ แม้อย่างใดอย่างหนึ่ง ก็ ลงตัชนิยกรรมได้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัติติจตุตถกรรมวาจา ไตร. ๖/๓
  5. เถรวาท : (ปุ.) เถรวาทชื่อนิกายของพระพุทธ- ศาสนาฝ่ายใต้ซึ่งถือพระธรรมวินัยตามมติ ของพระเถรพุทธสาวกที่ได้ทำสังคายนาไว้ คือไม่ยอมเปลี่ยนหรือถอนพระวินัย แม้ แต่ข้อเล็กน้อย.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ธรรมวินัย, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ธรรมวินัย, more than 5 found, display 1-5
  1. สอนพระธรรมวินัย : ธมฺมสฺส ปกาสนํ
  2. ธรรมมาสน์ : ธมฺมาสนํ, ธมฺมปลฺลงฺโก
  3. ค้นคว้าธรรม : ธมฺมวิจโย
  4. รักษาไว้ซึ่งคนทรงธรรม : ธมฺมธารึ ธาเรติ
  5. ปฏิบัติธรรม : ธมฺมานุธมฺมปสุโต
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ธรรมวินัย, more results...

(0.3064 sec)