Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: มือขวา .

Eng-Thai Lexitron Dict : มือขวา, 6 found, display 1-6
  1. right-hand : (ADJ) ; มือขวา
  2. right-handed : (ADJ) ; ถนัดมือขวา
  3. right-hander : (N) ; ผู้ถนัดมือขวา
  4. salaam : (N) ; การคำนับโดยการเอามือขวาแตะที่หน้าผาก (มุสลิม)
  5. salaam : (VI) ; ทักทายด้วยมือขวาแตะหน้าผาก (มุสลิม) ; Syn:salute
  6. salaam : (VT) ; ทักทายด้วยมือขวาแตะหน้าผาก (มุสลิม) ; Syn:salute

Thai-Eng Lexitron Dict : มือขวา, 10 found, display 1-10
  1. มือขวา : (N) ; right-hand man ; Related:valuable assistant ; Syn:คนสนิท ; Def:ผู้ชำนาญการหรือผู้ใกล้ชิดที่ไว้วางใจให้ทำหน้าที่แทนได้หรือเป็นกำลังสำคัญ ; Samp:หมอนี่ถือว่าเป็นมือขวาของเจ้าพ่อคนดัง เลยทำกร่างใหญ่ ; Unit:คน
  2. มือขวา : (N) ; right hand ; Syn:มือข้างขวา ; Def:อวัยวะส่วนหนึ่งของร่างกายอยู่ต่อแขนข้างขวา ; Samp:เขารู้สึกว่ามือขวาของเขามีอาการชาไม่หายเสียที ; Unit:ข้าง, มือ
  3. มือซ้าย : (N) ; left hand ; Related:left ; Ant:มือขวา ; Def:มือที่อยู่ด้านซ้ายของลำตัว ; Samp:ลูกเสือทำความเคารพโดยใช้มือซ้ายจับมือกัน
  4. แขนขวา : (N) ; efficient assistance ; Related:helper ; Syn:มือขวา, คนสนิท ; Ant:มือซ้าย, แขนซ้าย ; Def:ลูกน้องบริวารหรือผู้ใต้บังคับบัญชา ; Samp:เขาเกิดไปมีความขัดแย้งกับแขนขวาของท่านนายพลเข้า ; Unit:คน
  5. ถนัดขวา : (V) ; be right-handed ; Related:be dextrous with the right hand ; Syn:ถนัดมือขวา ; Def:ทำได้คล่องแคล่วด้วยมือขวา ; Samp:คนทั่วไปมักถนัดขวา
  6. แป : (ADJ) ; deformed ; Related:flat, ankylosed ; Syn:พิการ ; Def:เรียกมือที่พิการ นิ้วกำเข้าไม่ได้ว่า มือแป ; Samp:มือขวาของเขาโดนกระสุนจนพิการมือแปใช้งานไม่ได้อีกตลอดชีวิต
  7. กงจักร : (N) ; gear wheel ; Related:toothed wheel, disk-shape weapon ; Def:สิ่งที่มีรูปเป็นวงกลม มีริมเป็นแฉกๆ โดยรอบ ; Samp:เทพเจ้าบางองค์ถือสายฟ้า บางองค์ถือกงจักร บางองค์ถือหอก ไม่มีเทพยดาองค์ใดถือความเมตตาอยู่ในมือขวา และความยุติธรรมอยู่ในมือซ้าย
  8. ฉมวก : (N) ; harpoon ; Def:เครื่องมือสำหรับแทงปลา มีง่ามเป็น 3 ขา ปลายมีเงี่ยง มีด้ามยาว ; Samp:ชายคนนั้นยืนนิ่งเหมือนต้นไม้ มือขวาถือฉมวกเงื้ออยู่ในท่าเตรียมแทง
  9. นอนเจ็บ : (V) ; become sick ; Related:become sick, feel ill ; Syn:นอนป่วย ; Samp:ลูกน้องมือขวาของเขานอนเจ็บอยู่ที่โรงพยาบาลเป็นตายเท่ากัน
  10. สะเอว : (N) ; waist ; Syn:เอว, กะเอว ; Samp:รูปหล่อท้าวสุรนารี ตัดผมทรงดอกกระทุ่ม แต่งกายด้วยเครื่องยศพระราชทาน มือขวากุมดาบปลายดาบจรดพื้น มือซ้าย ท้าวสะเอว หันหน้าไปทางทิศตะวันตก

Royal Institute Thai-Thai Dict : มือขวา, 5 found, display 1-5
  1. มือขวา : น. ความสันทัด เช่น การรบพุ่งชิงชัยมันเป็นมือขวา ของเขานี่ครับ. (ชิงนาง ร. ๖). ว. ที่ใกล้ชิด, ที่เก่งกล้าสามารถ, ที่ไว้วางใจได้, เช่น สมุนมือขวา.
  2. คันชีพ ๒ : น. จงกลเทียนหลายกิ่ง สำหรับพราหมณ์ถือแกว่งในมือขวา มือซ้ายแกว่งบัณเฑาะว์.
  3. จับมือ : ก. ทักทายตามธรรมเนียมตะวันตกโดยบุคคล ๒ คน ประสานมือขวา ของกันและกันแล้วเขย่า, เรียกอาการที่ครูสอนโดยจับมือผู้เริ่มเรียนให้ทำตาม ในการสอนบางวิชาเช่น ฟ้อนรำ ดนตรี หรืองานฝีมือบางอย่าง เช่น จับมือรำ, จับมือตีระนาด, โดยปริยายหมายถึงร่วมมือกัน เช่น ชาวบ้านจับมือกันพัฒนา แหล่งน้ำ.
  4. ตบแผละ : [-แผฺละ] น. การเล่นชนิดหนึ่ง มีคนเล่น ๒ คน หันหน้าเข้าหากัน แต่ละฝ่ายตบเข่าและตบมือของตัวเองก่อน จึงใช้มือซ้ายตบมือซ้ายและ มือขวาตบมือขวาของอีกฝ่ายหนึ่งสลับกันกับตบมือและตบเข่า.
  5. ถนัดขวา : ว. ที่ทําได้คล่องแคล่วด้วยมือขวา.

Budhism Thai-Thai Dict : มือขวา, 2 found, display 1-2
  1. สีหไสยา : นอนอย่างราชสีห์ คือนอนตะแคงขวา ซ้อนเท้าเหลื่อมเท้า มีสติสัมปชัญญะ กำหนดใจถึงการลุกขึ้นไว้ (มีคำอธิบายเพิ่มอีกว่า มือซ้ายพาดไปตามลำตัว มือขวาซ้อนศีรษะ ไม่พลิกกลับไปมา)
  2. อารัญญกวัตร : ข้อปฏิบัติสำหรับภิกษุผู้อยู่ป่า, ธรรมเนียมที่ภิกษุผู้อยู่ป่าพึงถือปฏิบัติ ตามพุทธบัญญัติที่มาในวัตตขันธกะ จัดเป็นหัวข้อได้ดังนี้ ก) ๑) ภิกษุผู้อยู่ป่า พึงลุกขึ้นแต่เช้าตรู่ เอาถุงบาตรสวมบาตรแล้วคล้องบ่าไว้ พาดจีวรบนไหล่ สวมรองเท้า เก็บงำเครื่องไม้เครื่องดิน ปิดประตูหน้าต่าง แล้วลงจากเสนาสนะ (ที่พักอาศัย) ไป ๒) ทราบว่า “บัดนี้จักเข้าหมู่บ้าน” พึงถอดรองเท้า เคาะต่ำๆ แล้วใส่ถุงคล้องบ่าไว้ นุ่งให้เป็นปริมณฑล คาดประคดเอว ห่มสังฆาฏิซ้อนเป็น ๒ ชั้น กลัดลูกดุม ชำระบาตรแล้วถือเข้าหมู่บ้านโดยเรียบร้อยไม่รีบร้อน ไปในละแวกบ้านพึงปกปิกกายด้วยดี สำรวมด้วยดี ไม่เดินกระโหย่ง เมื่อจะเจ้านิเวศน์ พึงกำหนดว่า เรากจักเข้าทางนี้ จักออกทางนี้ ไม่พึงรีบร้อนเข้าไป ไม่พึงรีบร้อนออกมา พึงยืนไม่ไกลเกิดไป ไม่ใกล้เกินไป ไม่นานเกินไป ไม่กลับออกเร็วเกินไป เมื่อยืนอยู่ พึงกำหนดว่า เขาประสงค์จะถวายภิกษาหรือไม่ ฯลฯ เมื่อเขาถวายภิกษา พึงแหวกสังฆาฏิด้วยมือซ้าย น้อมบาตรเข้าไปด้วยมือขวา ใช้มือทั้ง ๒ ประคองบาตรรับภิกษา ไม่พึงมองดูหน้าสตรีผู้ถวาย พึงกำหนดว่า เขาประสงค์จะถวายแกงหรือไม่ ฯลฯ เมื่อเขาถวายภิกษาแล้ว พึงคลุมบาตรด้วยสังฆาฏิแล้วกลับโดยเรียบร้อย ไม่รีบร้อน เดินไปในละแวกบ้าน พึงปกปิดกายด้วยดี สำรวมด้วยดี ไม่เดินกระโหย่ง ๓) ออกจากบ้านแล้ว (หลังจากฉันและล้างบาตรแล้ว) เอาบาตรใส่ถุง คล้องบ่า พับจีวร วางบนศีรษะ สวมรองเท้าเดินไป ข) ภิกษุผู้อยู่ป่า พึงจัดเตรียมน้ำดื่มไว้ พึงจัดเตรียมน้ำใช้ไว้ พึงติดไฟเตรียมไว้ พึงจัดเตรียมไม้สีไฟไว้ พึงจัดเตรียมไม้เท้าไว้ ค) พึงเรียนทางนักษัตรไว้ (ดูดาวเป็น) ทั้งหมดหรือบางส่วน พึงเป็นผู้ฉลาดในทิศ

ETipitaka Pali-Thai Dict : มือขวา, not found

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : มือขวา, not found

(0.0353 sec)