Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ยกขึ้น , then ยกขน, ยกขึ้น .

Eng-Thai Lexitron Dict : ยกขึ้น, more than 7 found, display 1-7
  1. cock up : (PHRV) ; ยกขึ้น ; Related:ตั้งขึ้น
  2. haul up : (PHRV) ; ยกขึ้น ; Related:ดึงขึ้นไป ; Syn:haul down
  3. hoist : (VT) ; ยกขึ้น ; Related:ชักใบ, ชักรอก ; Syn:boost, heave, lift
  4. lift : (VT) ; ยกขึ้น ; Related:ชูขึ้น ; Syn:elevate, raise ; Ant:lower
  5. lift up : (PHRV) ; ยกขึ้น ; Syn:pull up
  6. lift up : (PHRV) ; ยกขึ้น ; Related:อุ้มขึ้น, ยก, แบกขึ้น ; Syn:pick up, gather up
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : ยกขึ้น, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ยกขึ้น, 8 found, display 1-8
  1. ยกขึ้น : (V) ; elevate ; Related:raise, hoist, heave, levitate, lift, pick up, hold up, uplift ; Syn:เลื่อนขึ้น ; Ant:ลดลง, ปลด ; Samp:สถานภาพของชนชั้นกลางถูกยกขึ้นเพราะมีบทบาทในการพัฒนาสังคมมากขึ้น
  2. เงื้อ : (V) ; raise ; Related:lift, elevate ; Syn:ยก, ยกขึ้น, ง้าง, เงื้อง่า ; Def:ยกขึ้นทำท่าจะทุบจะตีเป็นต้น เช่น เงื้อมือ, อาการที่มือยกสิ่งใดสิ่งหนึ่งขึ้นทำท่าจะตีหรือฟัน เป็นต้น เช่น เงื้อไม้ เงื้อมีด ; Samp:ผมเงื้อกำปั้นต่อยไปที่ใบหน้าเขาเต็มแรง
  3. เงื้อง่า : (V) ; raise ; Related:lift, elevate ; Syn:เงื้อ, ง้าง, ยก, ยกขึ้น ; Ant:เอาลง, ยกลง ; Def:ยกขึ้นทำท่าจะทุบตี ; Samp:ท่านมหาเบรคแตกลุกขึ้นเงื้อง่ามืออยู่กลางลานวัด
  4. ชู : (V) ; raise ; Related:lift, boost, elevate, hold up ; Syn:ยก, ยกขึ้น, ชูขึ้น ; Def:ยกขึ้นสูงกว่าระดับเดิม ; Samp:เขาชูมือขึ้นเพื่อออกเสียงลงคะแนน
  5. ตั้งแต่ง : (V) ; appoint ; Related:designate, commit, promote ; Syn:ยกขึ้น, สถาปนา
  6. ถลก : (V) ; roll up ; Related:pull up, hitch up, raise, hike up ; Syn:ถก, ยกขึ้น, ดึงขึ้น, รั้งขึ้น, เปิด ; Def:ดึงรั้งให้สูงขึ้นอย่างถกผ้านุ่ง ถกแขนเสื้อ, ดึงให้หลุดออกมา ; Samp:เขาพลิกแขนขาตรวจดูรอยเขี้ยว หลังจากถลกหนังงูหั่นใส่หม้อ
  7. สถาปนา : (V) ; found ; Related:establish ; Syn:ตั้ง, แต่งตั้ง, ยกขึ้น
  8. โหง 2 : (V) ; raise ; Related:lift ; Syn:กระดก, ยกขึ้น

Royal Institute Thai-Thai Dict : ยกขึ้น, 5 found, display 1-5
  1. โหง ๒ : ก. กระดกขึ้น, ยกขึ้น, เช่น เกวียนโหง.
  2. ขึ้น ๒ : ว. ใช้ประกอบคําอื่นเพื่อเน้นความให้เด่นหรือให้ชัดแจ้งกว่าเดิม เช่น เกิดขึ้น เป็นขึ้น สวยขึ้น สูงขึ้น; เป็นคําประกอบท้าย หมายความว่า มากกว่าเดิม เช่น ดีขึ้น เร็วขึ้น อ้วนขึ้น; เป็นไปตามคําที่ยอหรือยุเป็นต้น เช่น ยกขึ้น ยุขึ้น หนุนขึ้น; ดูสวยกว่าตัวจริง เช่น แต่งตัวขึ้น ถ่ายรูปขึ้น; มีเหตุผลสมควร เช่น ฟังขึ้น, ถ้าใช้ในความปฏิเสธ เช่น เถียงไม่ขึ้น หมายความว่า เถียงไม่ชนะ.
  3. เลื่อน : น. ยานชนิดหนึ่งไม่มีล้อ ใช้ลากไปตามท้องนาและหมู่บ้าน สําหรับ บรรทุกฟ่อนข้าวเป็นต้น, บางถิ่นเรียกว่า กะเลิด, ยานชนิดหนึ่งใช้ แถบขั้วโลก ไม่มีล้อ ใช้สุนัขลากไปบนพื้นหิมะหรือบนพื้นนํ้าแข็ง. ก. เคลื่อนหรือย้ายจากที่เดิมโดยลักษณะอาการต่าง ๆ เช่น ลาก เสือกไส ยกขึ้น กดลง; เปลี่ยนเวลาจากที่กําหนดไว้เดิม เช่น เลื่อน เวลาเดินทาง เลื่อนวันประชุม; เขยิบชั้นหรือตําแหน่งฐานะสูงขึ้น ไปกว่าเดิม เช่น เลื่อนยศ เลื่อนตําแหน่ง; เพิ่มเติม (ใช้แก่อาหาร) เช่น เลื่อนแกง เลื่อนของหวาน.
  4. ตั้ง : ก. ชูตัว, ชูตัวหรือทําให้ทรงตัวในลักษณะที่ไม่ใช่นอนหรือล้ม, เช่น ขนตั้งชัน ต้นข้าว เอนแล้วกลับตั้งขึ้น ตั้งขวด ตั้งตุ๊กตา; ทรง, ดํารง, เช่น ตั้งอยู่ในคลองธรรม ตั้งอยู่ในศีลในธรรม; ทําให้มีขึ้น, สร้างให้มีขึ้น, เช่น ตั้งตําแหน่งใหม่ ตั้งบ้านตั้งเรือน; ยกฐานะให้สูงขึ้น เช่น ตั้งพระราชาคณะ ตั้ง เปรียญ; กําหนด เช่น ตั้งราคา; วาง เช่น ตั้งสํารับ; วางซ้อนกันมาก ๆ เช่น ตั้งหนังสือเป็นกองสูง; เริ่ม, เริ่มมี, เช่น ตั้งครรภ์ ตั้งเค้า ตั้งท้อง. บ. คําแสดงความหมายว่า มาก หรือ นาน เช่น เสียตั้งชั่ง ไปตั้งปี. น. ลักษณนามเรียกของที่วางซ้อนกันมาก ๆ เช่น หนังสือตั้งหนึ่ง หนังสือ ๒ ตั้ง, ครั้ง เช่น มาลองกันดูสักตั้ง. ตั้งกรม ก. สถาปนาเจ้านายขึ้นทรงกรม. ตั้งเข็ม, ตั้งเป้าหมาย ก. ตั้งความมุ่งหมาย, กําหนดจุดมุ่งหมาย. ตั้งไข่ ก. สอนยืน (ใช้แก่เด็ก). ตั้งเค้า ก. เริ่มแสดงท่าทีให้รู้ว่าจะเกิดอะไรขึ้น เช่น ฝนตั้งเค้า. ตั้งแง่ ก. ทําชั้นเชิง, ไม่ตรงไปตรงมา, คอยหาเรื่องจับผิด. ตั้งใจ, ตั้งอกตั้งใจ ก. เอาใจจดใจจ่อ. ตั้งต้น ก. เริ่มทํา, ขึ้นต้น. ตั้งตัว ก. ตั้งฐานะหรือตั้งหลักฐาน; ยกย่องตัว, สถาปนาตัว, เช่น ตั้งตัวเป็นหัวหน้า ตั้ง ตัวเป็นใหญ่. ตั้งตาคอย ก. เฝ้าคอย. ตั้งแต่ บ. นับจากเวลาหนึ่งหรือสถานที่หนึ่งเป็นต้นไป (มักใช้เข้าคู่กับคำ จนถึง หรือ จน กระทั่ง). ตั้งแต่ง ก. ยกขึ้น, สถาปนา. ตั้งโต๊ะ ก. จัดโต๊ะอาหาร; จัดโต๊ะหมู่บูชา. ตั้งท้อง ว. เรียกข้าวที่มีรวงอ่อน ๆ ว่า ข้าวตั้งท้อง. ตั้งท่า ก. วางท่า; เตรียมตัวพร้อม, คอยทีอยู่. ตั้งธาตุ ก. จัดระบบการย่อยอาหารให้เป็นปรกติ. ตั้งนาฬิกา ก. เทียบนาฬิกาให้ตรงเวลา. ตั้งนาฬิกาปลุก ก. ตั้งเวลาให้นาฬิกาปลุกตามที่ต้องการ. ตั้งหน้า, ตั้งหน้าตั้งตา ก. มุ่งหน้า; ตั้งใจทํา, ทําอย่างจริงจัง, มุ่งมั่น. ตั้งหัวเรือ ก. ทําให้เรืออยู่ในแนว ไม่ให้หัวเรือส่ายไปมา. ตั้งอกตั้งใจ ก. เอาใจจดจ่อ, ตั้งใจ ก็ว่า.
  5. ยักษิณี : น. นางยักษ์. (ส.; ป. ยกฺขินี).

Budhism Thai-Thai Dict : ยกขึ้น, not found

ETipitaka Pali-Thai Dict : ยกขึ้น, more than 5 found, display 1-5
  1. สนฺธาเรติ : ก. ทรงไว้, ผู้สอบทาน, ยกขึ้น, เหนี่ยวรั้ง, ค้ำจุน
  2. อาโรเปติ : ก. ปลูก, เพาะ, ยกขึ้น ; ฟ้องร้อง, กล่าวหา; สั่งสอน
  3. อาโรห : (วิ.) ยาว, ยกขึ้น, ขึ้นไป, สูง, ทรวดทรง
  4. อุนฺนามี : ค. ขึ้น, ยกขึ้น
  5. อุพฺพหติ : ก. ดึงออก, ลากไป, เข็นไป, นำไป, ยกขึ้น
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ยกขึ้น, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ยกขึ้น, 3 found, display 1-3
  1. ยกขึ้น : อาโรปติ, อุพฺภต
  2. กวัดแกว่ง, ยกขึ้น : อพฺภุคฺคิรติ [ก.]
  3. เกิดเป็นยักษ์ : ยกฺขินี หุตฺวา นิพฺพตฺติ

(0.1534 sec)