Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เงื้อ , then งอ, เงื้อ .

Eng-Thai Lexitron Dict : เงื้อ, more than 7 found, display 1-7
  1. hook : (VT) ; งอ ; Related:โค้ง, งุ้ม ; Syn:arch, bend, crook
  2. hook : (VI) ; งอ ; Related:โค้ง, งุ้ม
  3. put up one's fists/guard : (IDM) ; ตั้งหมัด ; Related:เงื้อหมัด, ตั้งท่า
  4. flex : (VT) ; งอ (ส่วนต่างๆ ของร่างกาย) ; Related:โค้ง
  5. flex : (VI) ; โค้ง ; Related:งอ ; Syn:bend
  6. supple : (ADJ) ; งอโค้งได้ง่าย ; Related:ยืดหยุ่น, คัดงอง่าย, อ่อนนิ่ม ; Syn:flexible, pliant, limber, lithe
  7. bend to : (PHRV) ; งอจนถึง ; Syn:lean to
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : เงื้อ, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : เงื้อ, more than 7 found, display 1-7
  1. เงื้อ : (V) ; raise ; Related:lift, elevate ; Syn:ยก, ยกขึ้น, ง้าง, เงื้อง่า ; Def:ยกขึ้นทำท่าจะทุบจะตีเป็นต้น เช่น เงื้อมือ, อาการที่มือยกสิ่งใดสิ่งหนึ่งขึ้นทำท่าจะตีหรือฟัน เป็นต้น เช่น เงื้อไม้ เงื้อมีด ; Samp:ผมเงื้อกำปั้นต่อยไปที่ใบหน้าเขาเต็มแรง
  2. เงื้อมือ : (V) ; raise one's hand ; Related:lift one's hand ; Syn:เงื้อ ; Def:ยกมือขึ้นทำท่าจะทุบตี ; Samp:เขาเงื้อมือขึ้นอย่างลืมตัว เพราะเกิดความโมโหสุดขีด
  3. เงื้อง่า : (V) ; raise ; Related:lift, elevate ; Syn:เงื้อ, ง้าง, ยก, ยกขึ้น ; Ant:เอาลง, ยกลง ; Def:ยกขึ้นทำท่าจะทุบตี ; Samp:ท่านมหาเบรคแตกลุกขึ้นเงื้อง่ามืออยู่กลางลานวัด
  4. งอ : (V) ; bend ; Related:crook, flex, curve ; Syn:โค้ง, บิด, โก่ง, คด, งุ้ม, เบี้ยว ; Ant:ตรง ; Def:ลักษณะที่มีส่วนปลายหักโค้งเข้าหาตัวมันเอง ; Samp:แผ่นดิสก์ที่โค้งงอจะทำให้การอ่านเขียนเกิดผิดพลาดได้
  5. งอ : (V) ; be sulky ; Related:be moody, be sullen, be surly ; Syn:หน้างอ, หน้าบึ้ง, หน้านิ่วคิ้วขมวด ; Ant:ยิ้มแย้มแจ่มใส ; Def:ลักษณะที่ทำหน้าแสดงอาการไม่พอใจคิ้วขมวด ; Samp:พูดแค่นี้ ทำไมต้องทำหน้างอด้วยล่ะ
  6. ง่า : (V) ; stretch ; Related:spread, extend, widen ; Syn:เงื้อง่า, อ้า, กางออก ; Ant:หุบ, ปิด ; Samp:แม่ค้ากำลังง่าแขนออกเตรียมพร้อมที่จะเอาเรื่องกัน
  7. โค้ง : (ADJ) ; curved ; Related:bowed, bent ; Syn:งอ ; Ant:ตรง ; Def:ลักษณะของเส้นหรือสิ่งที่มีรูปอย่างส่วนหนึ่งของวงกลมอย่างส่วนหนึ่งของวงกลม ; Samp:สิ่งที่ทำให้ความรู้สึกต่างๆ เกิดขึ้นแก่ผู้ชม เช่น การใช้เส้นคดโค้งหรืออ่อนช้อย
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : เงื้อ, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : เงื้อ, more than 5 found, display 1-5
  1. เงื้อ : ก. ยกมือขึ้นทําท่าจะทุบจะตี ในคำว่า เงื้อมือ, อาการที่มือยกสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ขึ้นทําท่าจะตีหรือฟันเป็นต้น เช่น เงื้อไม้ เงื้อมีด.
  2. เงื้อง่าราคาแพง : (สํา) ก. จะทําอะไรก็ไม่กล้าตัดสินใจทําลงไป ดีแต่ทําท่า หรือวางท่าว่าจะทําเท่านั้น.
  3. เงือดเงื้อ : ก. เงื้อค้างท่าไว้.
  4. งอ : ว. ลักษณะที่มีส่วนปลายหักโค้งเข้าหาตัวมันเองเช่นรูปอย่างขอ; เรียกหน้าซึ่งมีสีหน้าแสดงอาการโกรธ ไม่พอใจ หรือไม่ได้อย่างใจ เป็นต้นว่า หน้างอ. ก. ทําให้มีรูปหรือเป็นเช่นนั้น, เรียกอาการของ คนที่หัวเราะจนตัวงอว่า หัวเราะงอ.
  5. ง้าง : ก. ทำให้อ้าออก เช่น ง้างประตู, ดึงให้ยืดออก เช่น ง้างศร, งัด เช่น ง้างปาก, เหนี่ยว เช่น ง้างไกปืน, เงื้อ เช่น ง้างหมัด.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : เงื้อ, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : เงื้อ, 5 found, display 1-5
  1. ปมิตา : เจ้าหญิงองค์หนึ่งในวงศ์ศากยะ เป็นพระราชบุตรีของพระเจ้าสีหหนุ เป็นพระเชฏฐภคินีของพระนางอมิตา เป็นพระเจ้าอาของพระพุทธเจ้า
  2. อนาคาริยวินัย : วินัยของอนาคาริก ดู วินัย
  3. อนุพยัญชนะ : ลักษณะน้อยๆ, พระลักษณะข้อปลีกย่อยของพระมหาบุรุษ (นอกเหนือจากมหาบุรุษลักษณะ ๓๒) อีก ๘๐ ประการ คือ ๑) มีนิ้วพระหัตถ์และนิ้วพระบาทอันเหลืองงาม, ๒) นิ้วพระหัตถ์และนิ้วพระบาทเรียวออกไป โดยลำดับแต่ต้นจนปลาย, ๓) นิ้วพระหัตถ์ แลนิ้วพระบาทกลมดุจนายช่างกลึงเป็นอันดี, ๔) พระนขาทั้ง ๒๐ มีสีอันแดง, ๕) พระนขาทั้ง ๒๐ นั้น งอนงามช้อนขึ้นเบื้องบนมิได้ค้อมลงเบื้องต่ำ ดุจเล็บแห่งสามัญชนทั้งปวง, ๖) พระนขานั้นมีพรรณอันเกลี้ยงกลม สนิทมิได้เป็นริ้วรอย, ๗) ข้อพระหัตถ์และข้อพระบาทซ่อนอยู่ในพระมังสะ มิได้สูงขึ้นปรากฏออกมาภายนอก, ๘) พระบาททั้งสองเสมอกันมิได้ย่อมใหญ่กว่ากันมาตรว่าเท่าเมล็ดงา, ๙) พระดำเนินงานดุจอาการเดินแห่งกุญชรชาติ, ๑๐) พระดำเนินงามดุจสีหราช, ๑๑) พระดำเนินงามดุจดำเนินแห่งหงส์, ๑๒) พระดำเนินงามดุจอุสภราชดำเนิน, ๑๓) ขณะเมื่อยืนจะย่างดำเนินนั้น ยกพระบาทเบื้องขวาย่างไปก่อน พระกายเยื้องไปข้างเบื้องขวาก่อน, ๑๔) พระชานุมณฑลเกลี้ยงกลมงามบริบูรณ์ บ่มิได้เห็นอัฏฐิสะบ้าปรากฏออกมาภายนอก, ๑๕) มีบุรุษพยัญชนะบริบูรณ์คือมิได้มีกิริยามารยาทคล้ายสตรี ๑๖) พระนาภีมิได้บกพร่อง กลมงามมิได้วิกลในที่ใดที่หนึ่ง, ๑๗) พระอุทรมีสัณฐานอันลึก, ๑๘) ภายในพระอุทรมีรอยเวียนเป็นทักขิณาวัฏฏ, ๑๙) ลำพระเพลาทั้งสองกลมงามดุจลำสุวรรณกัททลี, ๒๐) ลำพระกรทั้งสองงามดุจงวงแห่งเอราวัณเทพยหัตถี, ๒๑) พระอังคาพยใหญ่น้อยทั้งปวงจำแนกเป็นอันดี คือ งามพร้อมทุกสิ่งหาที่ตำหนิบ่มิได้, ๒๒) พระมังสะที่ควรจะหนาก็หนา ที่ควรจะบางก็บางตามที่ทั่วทั้งประสรีรกาย, ๒๓) พระมังสะมิได้หดหู่ในที่ใดที่หนึ่ง ๒๔) พระสรีรกายทั้งปวงปราศจากต่อมและไฝปาน มูลแมลงวันมิได้มีในที่ใดที่หนึ่ง, ๒๕) พระกายงามบริสุทธิ์พร้อมสมกันโดยตามลำดับทั้งเบื้องบนแลเบื้องล่าง, ๒๖) พระกายงามบริสุทธิ์พร้อมสิ้นปราศจากมลทินทั้งปวง, ๒๗) ทรงพระกำลังมาก เสมอด้วยกำลังแห่งกุญชรชาติ ประมาณถึงพันโกฏิช้าง ถ้าจะประมาณด้วยกำลังบุรุษก็ได้ถึงแสนโกฏิบุรุษ, ๒๘) มีพระนาสิกอันสูง, ๒๙) สัณฐานนาสิกงามแฉล้ม ๓๐) มีพระโอษฐ์เบื้องบนเบื้องต่ำมิได้เข้าออกกว่ากัน เสมอเป็นอันดี มีพรรณแดงงามดุจสีผลตำลึงสุก, ๓๑) พระทนต์บริสุทธิ์ปราศจากมูลมลทิน, ๓๒) พระทนต์ขาวดุจดังสีสังข์, ๓๓) พระทนต์เกลี้ยงสนิทมิได้เป็นริ้วรอย, ๓๔) พระอินทรีย์ทั้ง ๕ มีจักขุนทรีย์เป็นอาทิงามบริสุทธิ์ทั้งสิ้น, ๓๕) พระเขี้ยวทั้ง ๔ กลมบริบูรณ์, ๓๖) ดวงพระพักตร์มีสัณฐานยาวสวย ๓๗) พระปรางค์ทั้งสองดูเปล่งงามเสมอกัน, ๓๘) ลายพระหัตถ์มีรอยอันลึก, ๓๙) ลายพระหัตถ์มีรอยอันยาว ๔๐) ลายพระหัตถ์มีรอยอันตรง บ่มิได้ค้อมคด ๔๑) ลายพระหัตถ์มีรอยอันแดงรุ่งเรือง, ๔๒) รัศมีพระกายโอภาสเป็นปริมณฑลโดยรอบ ๔๓) กระพุ้งพระปรางค์ทั้งสองเคร่งครัดบริบูรณ์ ๔๔) กระบอกพระเนตรกว้างแลยาวงามพอสมกัน ๔๕) ดวงพระเนตรกอปรด้วยประสาททั้ง ๕ มีขาวเป็นอาทิผ่องใสบริสุทธิ์ทั้งสิ้น ๔๖) ปลายเส้นพระโลมาทั้งหลายมิได้งอมิได้คด ๔๗) พระชิวหามีสัณฐานอันงาม ๔๘) พระชิวหาอ่อนบ่มิได้กระด้างมีพรรณอันแดงเข้ม ๔๙) พระกรรณทั้งสองมีสัณฐานอันยาวดุจกลีบปทุมชาติ ๕๐) ช่องพระกรรณมีสัณฐานอันกลมงาม ๕๑) ระเบียบพระเส้นทั้งปวงนั้นสละสลวยบ่มิได้หดหู่ในที่อันใดอันหนึ่ง ๕๒) แถวพระเส้นทั้งหลายซ่อนอยู่ในพระมังสะทั้งสิ้น บ่มิได้เป็นคลื่นฟูขึ้นเหมือนสามัญชนทั้งปวง ๕๓) พระเศียรมีสัณฐานงามเหมือนฉัตรแก้ว ๕๔) ปริมณฑลพระนลาฏโดยกว้างยาวพอสมกัน ๕๕) พระนลาฏมีสัณฐานอันงาม ๕๖) พระโขนงมีสัณฐานอันงามดุจคันธนูอันก่งไว้ ๕๗) พระโลมาที่พระโขนงมีเส้นอันละเอียด ๕๘) เส้นพระโลมาที่พระโขนงงอกขึ้นแล้วล้มราบไปโดยลำดับ ๕๙) พระโขนงนั้นใหญ่ ๖๐) พระโขนงนั้นยาวสุดหางพระเนตร ๖๑) ผิวพระมังสะละเอียดทั่วทั้งพระกาย ๖๒) พระสรีรกายรุ่งเรืองไปด้วยสิริ ๖๓) พระสรีรกายมิได้มัวหมอง ผ่องใสอยู่เป็นนิตย์ ๖๔) พระสรีรกายสดชื่นดุจดวงดอกปทุมชาติ ๖๕) พระสรีรสัมผัสอ่อนนุ่มสนิท บ่มิได้กระด้างทั่วทั้งพระกาย ๖๖) กลิ่นพระกายหอมฟุ้งดุจกลิ่นสุคนธกฤษณา ๖๗) พระโลมามีเส้นเสมอกันทั้งสิ้น ๖๘) พระโลมามีเส้นละเอียดทั่วทั้งพระกาย ๖๙) ลมอัสสาสะและปัสสาสะลมหายพระทัยเข้าออกก็เดินละเอียด ๗๐) พระโอษฐมีสัณฐานอันงามดุจแย้ม ๗๑) กลิ่นพระโอษฐหอมดุจกลิ่นอุบล ๗๒) พระเกสาดำเป็นแสง ๗๓) กลิ่นพระเกสาหอมฟุ้งขจรตลบ ๗๔) พระเกสาหอมดุจกลิ่นโกมลบุบผชาติ ๗๕) พระเกสามีสัณฐานเส้นกลมสลวยทุกเส้น ๗๖) พระเกสาดำสนิททั้งสิ้น ๗๗) พระเกสากอปรด้วยเส้นอันละเอียด ๗๘) เส้นพระเกสามิได้ยุ่งเหยิง ๗๙) เส้นพระเกสาเวียนเป็นทักขิณาวัฏฏทุกๆ เส้น ๘๐) วิจิตรไปด้วยระเบียบพระเกตุมาลา กล่าวคือถ่องแถวแห่งพระรัศมีอันโชตนาการขึ้น ณ เบื้องบนพระอุตมังคสิโรตม์ฯ นิยมเรียกว่า อสีตยานุพยัญชนะ; ดู มหาบุรุษลักษณะ
  4. อสัทธรรม : ธรรมของอสัตบุรุษ มีหลายหมวด เช่น อสัทธรรม ๗ คือที่ตรงข้ามกับ สัทธรรม ๗ มีปราศจากศรัทธา ปราศจากหิริ เป็นต้น; ในคำว่า “ทอดกายเพื่อเสพอสัทธรรมก็ดี” หมายถึง เมถุนธรรม คือการร่วมประเวณี
  5. อาทิตยโคตร : ตระกูลพระอาทิตย์, เผ่าพันธุ์พระอาทิตย์, ตระกูลที่สืบเชื้อสายนางอทิติผู้เป็นชายาของพระกัศยปประชาบดี, ท่านว่าสกุลของพระพุทธเจ้าก็เป็นอาทิตยโคตร (โคตมโคตรกับอาทิตยโคตร มีความหมายอย่างเดียวกัน)

ETipitaka Pali-Thai Dict : เงื้อ, more than 5 found, display 1-5
  1. ตลสตฺติกสิกฺขาปท : (นปุ.) สิกขาบทอัน บัณฑิตกำหนดแล้วด้วยอันเงือดเงื้อซึ่ง หอกคือฝ่ามือ.
  2. อนุคฺคิรนฺต : กิต. ไม่พูด, ไม่เปล่ง, ไม่เงื้อ
  3. อพฺภุคฺคิรณ : นป. การยกขึ้น, การเงื้อง่าขึ้น
  4. อุคฺคิรติ : ก. กวัดแกว่ง, เงือดเงื้อ, อาเจียน, ไหลออก
  5. กุชน : ค. โค้ง, งอ
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : เงื้อ, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : เงื้อ, 4 found, display 1-4
  1. กวัดแกว่ง, เงือดเงื้อ : อุคฺคิรติ [ก.]
  2. โก่ง, คด, งอ : โอภคฺค
  3. คด, งอ : วงฺก
  4. งอ โค้ง : นมิตฺวา, ปฏิกุฏติ, โอภคฺค

(0.1364 sec)