Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ยอมรับ .

Eng-Thai Lexitron Dict : ยอมรับ, more than 7 found, display 1-7
  1. agree : (VI) ; ยอมรับ ; Related:ยอมรับความจริง
  2. admit : (VT) ; ยอมรับ ; Related:รับ, ยอมรับความจริง
  3. admit : (VI) ; ยอมรับ ; Related:รับ, ยอมรับความจริง ; Syn:receive
  4. acknowledge : (VT) ; ยอมรับ
  5. acknowledge : (VI) ; ยอมรับ ; Syn:accept, recognize
  6. agree with : (PHRV) ; ยอมรับ
  7. allow : (VT) ; ยอมรับ ; Related:รับ
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : ยอมรับ, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ยอมรับ, more than 7 found, display 1-7
  1. ยอมรับ : (V) ; agree ; Related:accept, concur, acquiesce ; Syn:เห็นด้วย ; Def:เห็นด้วยในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง, ยอมรับเอา ; Samp:นักภาษาศาตร์คอมพิวเตอร์มักจะยอมรับการแก้ปัญหาแบบอนุโลม
  2. ยอมรับ : (V) ; confess ; Related:plead guilty, admit ; Syn:สารภาพ, รับสารภาพ, รับผิด ; Samp:เขาไม่ยอมรับในสิ่งที่เขาทำให้เกิดผลเสียขึ้นมา
  3. ปลงตก : (V) ; be resigned (to one's fate) ; Related:accept (one's situation, condition, predicament), come to the realization ; Syn:ยอมรับ ; Def:พิจารณาจนเห็นจริงแล้วปล่อยไปตามสภาพ ; Samp:เขาปลงตกแล้วว่าเขาจะตายในหกเดือน
  4. ยอมรับผิด : (V) ; confess ; Related:admit/acknowledge one's mistake ; Syn:รับผิด ; Ant:ปฏิเสธ ; Def:ยอมรับความผิดที่ได้กระทำไป ; Samp:เขายอมรับผิดว่าเขาได้ให้ข่าวนี้แก่ผู้สื่อข่าวคนหนึ่ง
  5. ที่ยอมรับ : (ADJ) ; acceptable ; Related:agreeable, admissible ; Syn:เป็นที่ยอมรับ
  6. ไม่ยอมรับ : (V) ; refuse to admit ; Related:refuse to acknowledge ; Syn:ไม่รับ, ไม่รับผิด ; Def:ให้คำตอบปฏิเสธ, ไม่ยอมสารภาพ ; Samp:จำเลยไม่ยอมรับว่าเป็นผู้ลงมือสังหาร
  7. รับ : (V) ; confess ; Related:admit, plead guilty, acknowledge, come clean, concede ; Syn:ยอมรับ, รับผิด, ยอม, สารภาพ ; Def:ให้คำตอบที่ไม่ปฏิเสธ, ยอมสารภาพ ; Samp:เขารับว่าเขาเป็นผู้วางแผนและกระทำเองทั้งหมด
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ยอมรับ, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ยอมรับ, more than 5 found, display 1-5
  1. ปฏิเสธ : ก. ไม่รับ, ไม่ยอมรับ, เช่น ปฏิเสธการเชิญ, ไม่ยอมรับข้อเท็จจริง เช่น ปฏิเสธข้อกล่าวหา; (ไว) แสดงความหมายตรงกันข้ามกับ ยืนยัน รับ หรือ ยอมรับ. (ป.).
  2. กฎหมาย : (กฎ) น. กฎที่สถาบันหรือผู้มีอํานาจสูงสุดในรัฐตราขึ้น หรือ ที่เกิดขึ้นจากจารีตประเพณีอันเป็นที่ยอมรับนับถือ เพื่อใช้ใน การบริหารประเทศ เพื่อใช้บังคับบุคคลให้ปฏิบัติตาม หรือ เพื่อกําหนดระเบียบแห่งความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือ ระหว่างบุคคลกับรัฐ. (โบ) ก. จดบันทึกไว้เป็นหลักฐาน เช่น สั่งให้นายอินกฎหมายผู้มีชื่อทั้งนี้ไว้. (พงศ. อยุธยา), ทําหนังสือ เป็นหลักฐาน เช่น อนึ่ง มีผู้ทําหนังสือร้องเรียนกฎหมายว่า.... (พระราชกําหนดเก่า); ออกหมายกําหนด เช่น ให้มหาดไทยกลาโหม กฎหมายบอกแก่ตระลาการ ถ้ากฎหมายมิทั่วจะเอาตัวผู้กฎหมาย ลงโทษ. (พระราชกําหนดเก่า); กฎหมายงานพระบรมศพครั้ง กรุงเก่า; ตราสั่ง เช่น จึ่งกฎหมายให้สามไป เดือนหนึ่งจอมไตร ดํารัสให้เร่งคืนมา. (พากย์); กําหนดขีดขั้น เช่น ให้ปลูกโรงรจนา ใน นอกหน้าศาลชัย ให้ตั้งพิกัดกฎหมาย. (พากย์).
  3. กฎหมายระหว่างประเทศ : (กฎ) น. หลักกฎหมายหรือหลักปฏิบัติ ที่ยอมรับกันว่าด้วยรัฐและความเกี่ยวพันระหว่างรัฐ รวมทั้งความ เกี่ยวพันระหว่างรัฐกับองค์การระหว่างประเทศและประชาคม ระหว่างประเทศ, เดิมเรียกว่า กฎหมายนานาประเทศ. (อ. international law).
  4. กระต่ายสามขา : (สํา) ว. ยืนกรานไม่ยอมรับ, กระต่ายขาเดียว ก็ว่า.
  5. ขมา : [ขะมา] ก. กล่าวคําขอโทษ เช่น ไปขมาศพ. น. การยกโทษให้ เมื่ออีกฝ่ายหนึ่งยอมรับผิด เช่น ขอขมา, ษมา ก็ใช้. (ป.; ส. กฺษมา).
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ยอมรับ, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ยอมรับ, 10 found, display 1-10
  1. งมงาย : ไม่รู้เท่า, ไม่เข้าใจ, เซ่อเซอะ, หลงเชื่อโดยไม่มีเหตุผล หรือโดยไม่ยอมรับฟังผู้อื่น
  2. ธุดงค์ : องค์คุณเครื่องกำจัดกิเลส, ชื่อข้อปฏิบัติประเภทวัตร ที่ผู้สมัครใจจะพึงสมาทานประพฤติได้ เป็นอุบายขัดเกลากิเลส ส่งเสริมความมักน้อยสันโดษเป็นต้น มี ๑๓ ข้อคือ หมวดที่ ๑ จีวรปฏิสังยุต-เกี่ยวกับจีวร มี ๑.ปังสุกูลิกังคะ ถือใช้แต่ผ้าบังสุกุล ๒.เตจีวริกังคะ ใช้ผ้าเพียง ๓ ผืน; หมวดที่ ๒ ปิณฑปาตปฏิสังยุต-เกี่ยวกับบิณฑบาต มี ๓.ปิณฑปาติกังคะ เที่ยวบิณฑบาตเป็นประจำ ๔.สปทานจาริกังคะ บิณฑบาตตามลำดับบ้าน ๕.เอกาสนิกังคะ ฉันมื้อเดียว ๖.ปัตตปิณฑิกังคะ ฉันเฉพาะในบาตร ๗.ขลุปัจฉาภัตติกังคะ ลงมือฉันแล้วไม่ยอมรับเพิ่ม; หมวดที่ ๓ เสนาสนปฏิสังยุต -เกี่ยวกับเสนาสนะมี ๘.อารัญญิกังคะ ถืออยู่ป่า ๙.รุกขมูลิกังคะ อยู่โคนไม้ ๑๐.อัพโภกาสิกังคะ อยู่กลางแจ้ง ๑๑.โสสานิกังคะ อยู่ป่าช้า ๑๒.ยถาสันถติกังคะ อยู่ในที่แล้วแต่เขาจัดให้; หมวดที่ ๔ วิริยปฏิสังยุต-เกี่ยวกับความเพียร มี ๑๓.เนสัชชิกังคะ ถือนั่งอย่างเดียวไม่นอน (นี้แปลเอาความสั้นๆ ความหมายละเอียด พึงดูตามลำดับอักษรของคำนั้นๆ) ธุระ “สิ่งที่จะต้องแบกไป”, หน้าที่, ภารกิจ, การงาน, เรื่องที่จะต้องรับผิดชอบ, กิจในพระศาสนา แสดงไว้ในอรรถกถา ๒ อย่างคือ คันถธุระ และวิปัสสนาธุระ
  3. ปฏิญญา : ให้คำมั่น, แสดงความยืนยัน, ให้การยอมรับ
  4. ปฏิเสธ : การห้าม, การไม่รับ, การไม่ยอมรับ, การกีดกั้น
  5. วทัญญู : ผู้รู้ถ้อยคำ คือ ใจดี เอื้ออารี ยอมรับฟังความทุกข์ยากเดือนร้อนและความต้องการของผู้อื่น เข้าใจคำพูดของเขาได้ดี
  6. สมภพ : การร่วมกัน, การตกลงกัน, การมีมติร่วมกัน หรือยอมรับร่วมกัน; การที่สงฆ์ ประชุมกันตกลงมอบหมายหรือแต่งตั้งภิกษุให้ทำกิจหรือเป็นเจ้าหน้าที่ในเรื่องอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น สมมติภิกษุเป็นผู้ให้โอวาทภิกษุณีสมมติภิกษุเป็นภัตตุเทศก์ เป็นต้น; ในภาษาไทย ใช้ในความหมายว่า ตกลงกันว่า ต่างว่า
  7. สมมติเทพ : เทวดาโดยสมมติ คือ โดยความตกลงหรือยอมรับร่วมกันของมนุษย์ ได้แก่พระราชา พระราชเทวี พระราชกุมาร (ข้อ ๑ ในเทพ ๓)
  8. อัจฉริยะ : “เหตุอันควรที่จะดีดนิ้วเปาะ”, อัศจรรย์, แปลกวิเศษ, น่าทึ่งควรยอมรับนับถือ, ดีเลิศล้ำน่าพิศวง, มีความรู้ความสามารถทรงคุณสมบัติเหนือสามัญหรือเกินกว่าระดับปกติ
  9. อาการที่พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอน : มี ๓ อย่างคือ ๑) ทรงรู้ยิ่งเห็นจริงเองแล้ว จึงทรงสั่งสอนผู้อื่น เพื่อให้รู้ยิ่งเห็นจริงตามในธรรมที่ควรรู้ควรเห็น ๒) ทรงสั่งสอนมีเหตุผลซึ่งผู้ฟังอาจตรองตามให้เห็นจริงได้ ไม่เลื่อนลอย ๓) ทรงสั่งสอนเป็นอัศจรรย์ ทำให้ผู้ฟังยอมรับ และนำไปปฏิบัติตาม ได้รับผลจริง บังเกิดประโยชน์สมควรแก่การปฏิบัติ
  10. อุกเขปนียกรรม : กรรมอันสงฆ์พึงทำแก่ภิกษุอันจะพึงยกเสีย หมายถึงวิธีการลงโทษที่สงฆ์กระทำแก่ภิกษุผู้ต้องอาบัติแล้ว ไม่ยอมรับว่าเป็นอาบัติ หรือไม่ยอกทำคืนอาบัติ หรือมีความเห็นชั่วร้าย (ทิฏฐิบาป) ไม่ยอมสละซึ่งเป็นทางเสียสีลสามัญญตา หรือ ทิฏฐิสามัญญตา โดยยกเธอเสียจากการสมโภคกับสงฆ์ คือ ไม่ให้ฉันร่วมไม่ให้อยู่ร่วม ไม่ให้มีสิทธิเสมอกับภิกษุทั้งหลาย พูดง่ายๆ ว่า ถูกตัดสิทธิแห่งภิกษุชั่วคราว

ETipitaka Pali-Thai Dict : ยอมรับ, more than 5 found, display 1-5
  1. ปฏิคฺคณฺหาติ : ก. รับ, รับเอา, ยอมรับ, ถือปฏิบัติ
  2. ปฏิจฺฉติ : ก. รับ, ยอมรับ
  3. ปฏิสฺสุณาติ : ก. รับคำ, ยอมรับ, ตกลง, ให้สัญญา
  4. ปฏิชานาติ : ก. ปฏิญาณ, ยอมรับ (สารภาพ), ให้สัญญา, รับรอง, ตกลง, แสดงความเห็นชอบ
  5. นิยม : (ปุ.) การกำหนด, การหมายไว้, การจำ ศีล, ความกำหนด, ความแน่นอน, ความพร้อมกัน, ความประพฤติ, ความชอบ, ความนับถือ, วัตร, พรต, พรตที่ประพฤติ ตามกาล. นิปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม, อ. คำนิยม ไทยใช้เป็นกิริยา ในความหมายว่า ชมชอบ ชื่นชม ยินดี ยอมรับ นับถือ. ส. นิยม.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ยอมรับ, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ยอมรับ, 2 found, display 1-2
  1. ตกลง, ยอมรับ : ปฏิชานาติ
  2. ยอมรับนับถือ : สุมาเนติ

(0.0464 sec)