Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: รื้อ , then รอ, รื้อ .

Eng-Thai Lexitron Dict : รื้อ, more than 7 found, display 1-7
  1. disestablish : (VT) ; รื้อ ; Related:ถอน, เลิก ; Syn:displace
  2. dismantle : (VT) ; รื้อ ; Related:ถอดออก, แยกออก, เอาออก ; Syn:disassemble, dismember ; Ant:assemble, put together
  3. knock down : (PHRV) ; รื้อออก ; Related:ทำให้ล้มลงมา, รื้อลง
  4. demolish : (VT) ; รื้อถอน ; Related:ทำลาย ; Syn:destroy, devastate, wreck
  5. fiddle with : (PHRV) ; รื้อส่วนต่างๆ ของเครื่องจักรเพื่อแก้ไข ; Syn:tinker with
  6. raze : (VT) ; รื้อถอน ; Related:ทำลายจนราบ ; Syn:demolish, flatten
  7. tear at : (PHRV) ; ฉีก ; Related:ทิ้ง, รื้อ, แกะ
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : รื้อ, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : รื้อ, more than 7 found, display 1-7
  1. รื้อ : (V) ; dismantle ; Related:demolish, pull down, disassemble, take to pieces, strip ; Syn:รื้อถอน ; Ant:สร้าง ; Def:ทำให้เสียรูปเดิมโดยแยกหรือถอดส่วนประกอบออกมา ; Samp:กุฏิบางหลังเป็นเรือนของชาวบ้านรื้อมาถวาย
  2. รื้อ : (N) ; name of Thai tune ; Syn:รื้อร่าย ; Def:ชื่อทำนองเพลงร้อง
  3. รื้อ : (V) ; revive ; Related:resurrect, reintroduce, restore, bring back ; Syn:หยิบยก ; Def:เอาขึ้นมาใหม่ ; Samp:หัวหน้าสั่งให้พวกเรารื้อเรื่องที่ระงับไว้ขึ้นมาอีกครั้ง
  4. รื้อถอน : (V) ; pull down ; Related:demolish, remove(obstacles) ; Samp:เมื่อมีการก่อสร้างเป็นโรงเรียนขึ้นมา ซากโบราณสถานต่างๆ ก็ถูกรื้อถอนออกไปจนหมดสิ้น
  5. การรื้อ : (N) ; demolition ; Related:dismantlement ; Syn:การถอน, การแยกออก ; Def:การแยกออก การถอดออก จากสิ่งที่ทำเป็นรูปแล้วให้เสียความเป็นกลุ่มก้อนของรูปเดิม เช่น การรื้อบ้าน ; Samp:การรื้อบ้านครั้งนี้ต้องใช้เงินเป็นจำนวนมาก
  6. การรื้อ : (N) ; revival ; Related:resurrection, recovering, rearrangement ; Def:การเอาขึ้นมาใหม่ เช่น การรื้อเรื่องที่ระงับไว้ ; Samp:เทปชุดนี้เกิดจากการรื้อเพลงเก่ามาทำดนตรีใหม่
  7. ทำลาย : (V) ; destroy ; Related:demolish, damage ; Syn:รื้อ, โค่น, กำจัด, ขจัด, ทำลายล้าง ; Ant:ทะนุ, บำรุง, รักษา, บำรุงรักษา ; Def:อาการที่ทำให้สิ่งซึ่งเป็นกลุ่มก้อนแตกหักหรือพังกระจัดกระจาย, ทำให้พัง, ทำให้ฉิบหาย, ทำให้หมดสิ้นไป ; Samp:เราไม่ควรทำลายของสาธารณะ
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : รื้อ, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : รื้อ, more than 5 found, display 1-5
  1. รื้อ : ก. แยกออกหรือถอดออกเป็นต้นจากสิ่งที่เป็นรูปแล้วให้เสียความเป็น กลุ่มก้อนของรูปเดิม เช่น รื้อบ้าน รื้อหลังคา รื้อข้าวของกระจุยกระจาย; เอาขึ้นมาใหม่ เช่น รื้อเรื่องราวที่ระงับไว้ขึ้นมาพิจารณาใหม่ รื้อเรื่องเดิม ขึ้นมาเขียนใหม่; ขนออก เช่น รื้อสัตว์จากวัฏสงสาร.
  2. รื้อถอน : ก. รื้อและถอนสิ่งปลูกสร้างแล้วโยกย้ายไป เช่น รื้อถอนบ้าน เรือน; (กฎ) รื้อส่วนอันเป็นโครงสร้างของอาคาร เช่น เสา คาน ตง ออกไปให้หมด เช่น รื้อถอนบ้านเรือน.
  3. รื้อไข้ : ก. หายไข้ใหม่ ๆ.
  4. รื้อแต่หลังคาเขา หลังคาเราไม่รื้อ : (สํา) ก. คิดแต่จะเอาของผู้อื่นมาใช้ ของของตัวเก็บไว้, คิดแต่จะเอา ไม่คิดจะให้.
  5. รื้อร่าย : น. ชื่อทำนองเพลงร้องอย่างลำนำ.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : รื้อ, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : รื้อ, 9 found, display 1-9
  1. เดาะ : (ในคำว่าการเดาะกฐิน) เสียหาย คือกฐินใช้ไม่ได้หมดประโยชน์ หมดอานิสงส์ ออกมาจารคำว่า อุพฺภาโร, อุทฺธาโร แปลว่ายกขึ้น หรือรื้อ เข้ากับศัพท์กฐินแปลว่ารื้อไม่สะดึง คือหมดโอกาสได้ประโยชน์จากกฐิน
  2. เตียง : ภิกษุทำเตียงหรือตั่ง พึงทำให้มีเท้าเพียง ๘ นิ้วพระสุคต เว้นไว้แต่แม่แคร่เบื้องต่ำ และต้องไม่หุ้มนุ่น ถ้าฝ่าฝืน ต้องปาจิตตีย์ ต้องตัดให้ได้ประมาณ หรือรื้อเสียก่อน จึงแสดงอาบัติตก (ปาจิตตีย์ รตนวรรคที่๙ สิกขาบทที่ ๕ และ ๖)
  3. ผาติกรรม : การทำให้เจริญ หมายถึง การจำหน่ายครุภัณฑ์ เพื่อประโยชน์สงฆ์อย่างใดอย่างหนึ่ง โดยเอาของเลวแลกเปลี่ยนเอาของดีกว่าให้แก่สงฆ์ หรือเอาของตนถวายสงฆ์เป็นการทดแทนที่ตนทำของสงฆ์ชำรุดไป, รื้อของที่ไม่ดีออกทำให้ใหม่ดีกว่าของเก่า เช่น เอาที่วัดไปทำอย่างอื่นแล้วสร้างวัดถวายให้ใหม่; การชดใช้, การทดแทน
  4. นาลกะ : 1.หลานชายของอสิตดาบส ออกบวชตามคำแนะนำของลุง และไปบำเพ็ญสมณธรรมรอการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าอยู่ในป่าหิมพานต์ ครั้นพระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้ว ได้มาทูลถามเรื่องโมไนยปฏิปทา และกลับไปบำเพ็ญสมณธรรมในป่าหิมพานต์ ได้บรรลุพระอรหัตแล้ว ดำรงอายุอยู่อีก ๗ เดือน ก็ปรินิพพานในป่าหิมพานต์นั้นเอง; ท่านจัดเป็นมหาสาวกองค์หนึ่งในอสีติมหาสาวกด้วย 2.ชื่อหมู่บ้านอันเป็นที่เกิดของพระสารีบุตรไม่ไกลจากเมืองราชคฤห์ บางทีเรียกนาลันทคาม
  5. ภัตตัคควัตร : ข้อควรปฏิบัติในหอฉัน, ธรรมเนียมในโรงอาหาร ท่านจัดเข้าเป็นกิจวัตรประเภทหนึ่ง กล่าวย่อ มี ๑๑ ข้อ คือ นุ่งห่มให้เรียบร้อย, รู้จักอาสนะอันสมควรแก่ตน, ไม่นั่งทับผ้าสังฆาฏิในบ้าน, รับน้ำและโภชนะของถวายจากทายกโดยเอื้อเฟือ และคอยระวังให้ได้รับทั่วถึงกัน, ถ้าพอจะแลเห็นทั่วกัน พระสังฆเถระพึงลงมือฉัน เมื่อภิกษุทั้งหมดได้รับโภชนะทั่วกันแล้ว, ฉันด้วยอาการเรียบร้อยตามหลักเสขิยวัตร, อิ่มพร้อมกัน (หัวหน้ารอยังไม่บ้วนปากและล้างมือ), บ้วนปากและล้างมือระวังไม่ให้น้ำกระเซ็น ฉันในที่มีทายกจัดถวาย เสร็จแล้วอนุโมทนา, เมือกลับอย่าเบียดเสียดกันออกมา, ไม่เทน้ำล้างบาตรมีเมล็ดข้าวหรือของเป็นเดนในบ้านเขา
  6. ภัทเทกรัตตสูตร : ชื่อสูตรหนึ่งในมัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ แห่งพระสุตตันตปิฎก แสดงเรื่องบุคคลผู้มีราตรีเดียวเจริญ คือ คนที่เวลาวันคืนหนึ่งๆ มีแต่ความดีงามความเจริญก้าวหน้า ได้แก่ ผู้ที่ไม่มัวครุ่นคำนึงอดีต ไม่เพ้อหวังอนาคต ใช้ปัญญาพิจารณาให้เห็นแจ้งประจักษ์สิ่งที่เป็นปัจจุบัน ทำความดีเพิ่มพูนขึ้นเรื่อยไป มีความเพียรพยายาม ทำกิจที่ควรทำเสียแต่วันนี้ ไม่รอวันพรุ่ง
  7. วักกลิ : พระมหาสาวกองค์หนึ่ง เป็นบุตรพราหมณ์ชาวพระนครสาวัตถีเรียนจบไตรเพทตามลัทธิพราหมณ์ บวชในพระพุทธศาสนา ด้วยความอยากเห็นพระรูปพระโฉมของพระศาสดา ครั้นบวชแล้วก็คอยติดตามดูพระองค์ตลอดเวลา จนไม่เป็นอันเจริญภาวนา พระพุทธเจ้าทรงรอเวลาให้ญาณของเธอสุกงอม ครั้นแล้วก็ตรัสเตือนเธอว่า “จะมีประโยชน์อะไรที่ได้เห็นกายเปื่อยเน่านี้ ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา” ดังนี้เป็นต้น และทรงสอนต่อไปด้วยอุบายวิธีจนในที่สุดพระวักกลิก็ได้สำเร็จพระอรหัต และต่อมาได้รับยกย่องจากพระศาสดาว่าเป็นเอตทัคคะในทางศรัทธาวิมุต คือ หลุดพ้นด้วยศรัทธา
  8. โสณกุฏิกัณณะ : พระมหาสาวกองค์หนึ่ง เป็นบุตรของอุบาสิกาชื่อกาฬี ซึ่งเป็นพระโสดาบัน เกิดที่บ้านเดิมของมารดาในเมืองราชคฤห์ แล้วกลับไปอยู่ในตระกูลบิดาที่แคว้นอวันตี ทักขิณาบถ พระมหากัจจายนะให้บรรพชาเป็นสามเณรแล้วรอต่อมาอีก ๓ ปี เมื่อท่านหาภิกษุได้ครบ ๑๐ รูปแล้วจึงให้อุปสมบทเป็นภิกษุ บวชแล้วไม่นานก็สำเร็จพระอรหัต ต่อมาท่านได้เดินทางมาเฝ้าพระศาสดาที่เมืองสาวัตถี พร้อมทั้งนำความที่พระอุปัชฌาย์สั่งมากราบทูลขอพระพุทธานุญาตพิเศษสำหรับปัจจันตชนบท เช่น ให้สงฆ์มีภิกษุ ๕ รูปให้อุปสมบทได้ ให้ใช้รองเท้าหนาหลายชั้นได้ ให้อาบน้ำได้ตลอดทุกเวลา เป็นต้น ท่านแสดงธรรมมีเสียงไพเราะแจ่มใสชัดเจนจึงได้รับย่องย่องจากพระศาสดาว่า เป็นเอตทัคคะในทางกล่าวกัลยาณพจน์
  9. อภิญญา : ความรู้ยิ่ง, ความรู้เจาะตรงยวดยิ่ง, ความรู้ชั้นสูง มี ๖ อย่างคือ ๑) อิทธิวิธิ แสดงฤทธิ์ต่างๆ ได้ ๒) ทิพพโสต หูทิพย์ ๓) เจโตปริยญาณ ญาณที่ให้ทายใจคนอื่นได้ ๔) ปุพเพนิวาสานุสติ ญาณที่ทำให้ระลึกชาติได้ ๕) ทิพพจักขุ ตาทิพย์ ๖) อาสวักขยญาณ ญาณที่ทำให้อาสวะสิ้นไป, ๕ อย่างแรกเป็นโลกียอภิญญา ข้อสุดท้ายเป็นโลกุตตรอภิญญา

ETipitaka Pali-Thai Dict : รื้อ, more than 5 found, display 1-5
  1. กฐินุทฺธาร : ป. การรื้อไม้สะดึงออก เพราะกรานกฐินเสร็จแล้วหรือเพราะสามารถจะทำได้
  2. นิตฺถรก นิตฺกรณก : (วิ.) ผู้ช่วย, ช่วยเหลือ, ผู้รื้อ, ผู้รื้อถอน, ผู้ถอนออก, ผู้ถอนตน ออกจากทุกข์.
  3. อนุทฺธฏ : ค. ยังไม่ได้ถอน, ไม่ได้รื้อ
  4. อนุทฺธเสติ : ก. รื้อ, ขจัด, ทำลาย, โจทย์, ฟ้อง
  5. อุตฺติณ : ค. ไม่มีหญ้า, รื้อหญ้าออก
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : รื้อ, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : รื้อ, 2 found, display 1-2
  1. รื้อ : วิทฺธํสติ, วิทฺธํสาเปตฺวา
  2. นั่งรอคอย : เวลํ อาคมยมาโน นิสีทิ

(0.1186 sec)