Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: วินัยกรรม, วินัย, กรรม , then กมฺม, กรรม, พินัย, พินัยกรรม, วนย, วินัย, วินัยกรรม .

Eng-Thai Lexitron Dict : วินัยกรรม, more than 7 found, display 1-7
  1. demeanour : (N) ; กรรม ; Related:ลักษณะภายนอก, ท่าทาง, บุคลิกลักษณะ, อากัปกิริยา ; Syn:behavior, deportment manner
  2. karma : (N) ; กรรม ; Related:ผลจากการกระทำ
  3. deed : (N) ; การกระทำ ; Related:กรรม ; Syn:action
  4. feasance : (N) ; การกระทำ ; Related:กรรม
  5. dative : (N) ; กรรมรอง (ทางไวยากรณ์)
  6. indirect object : (N) ; กรรมรอง (ทางไวยากรณ์)
  7. objective case : (N) ; กรรมการก (ทางไวยากรณ์)
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : วินัยกรรม, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : วินัยกรรม, more than 7 found, display 1-7
  1. กรรม : (N) ; sin ; Related:wrong-doing, badness, transgression, wickedness ; Syn:บาป, เคราะห์ ; Samp:ทุกคนเกิดมาเพื่อใช้กรรมเก่า
  2. กรรม : (N) ; object ; Def:ผู้ถูกกระทำ (ตามความหมายทางไวยากรณ์) ; Samp:กริยาสกรรมต้องมีกรรมมารับข้างท้าย
  3. กรรม : (N) ; deed ; Related:action, performance, doing ; Def:การกระทำที่ส่งผลร้ายมาถึงปัจจุบัน ; Samp:ผลของกรรมในชาติก่อนทำให้เขาเกิดมาเป็นง่อย
  4. วินัย : (N) ; discipline ; Related:rule, regulation, regimen ; Syn:กฎเกณฑ์, ระเบียบ, หลักเกณฑ์ ; Def:ระเบียบสำหรับกำกับความประพฤติให้เป็นแบบแผนอันหนึ่งอันเดียวกัน ; Samp:ประชาชนชาวเกาหลีใต้มีวินัยและการศึกษาสูง ทำให้เกาหลีใต้จึงพัฒนาอย่างรวดเร็ว
  5. วินัย : (N) ; discipline ; Related:rule, regulation, regimen ; Syn:กฎเกณฑ์, ระเบียบ, หลักเกณฑ์ ; Def:ระเบียบสำหรับกำกับความประพฤติให้เป็นแบบแผนอันหนึ่งอันเดียวกัน ; Samp:ประชาชนชาวเกาหลีใต้มีวินัยและการศึกษาสูง ทำให้เกาหลีใต้จึงพัฒนาอย่างรวดเร็ว
  6. กรรมวิบาก : (N) ; retribution ; Syn:กรรมตามสนอง ; Def:ผลของกรรม ; Samp:กรรมวิบากที่เขาได้รับนั้นสาสมแล้ว
  7. กรรมตามสนอง : (N) ; retribution ; Related:nemesis ; Syn:กรรมตามทัน ; Samp:มีสำนวนในภาษาไทยมากมายที่สะท้อนความเชื่อในเรื่องกฎแห่งกรรมและบาปบุญ ได้แก่ กรรมตามสนอง กงกำกงเกวียน บุญทำกรรมแต่ง ทำดีได้ดีทำชั่วได้ชั่ว
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : วินัยกรรม, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : วินัยกรรม, more than 5 found, display 1-5
  1. กรรม ๑, กรรม- ๑ : [กำ, กำมะ-] น. (๑) การ, การกระทำ, การงาน, กิจ, เช่น พลีกรรม ต่างกรรมต่างวาระ, เป็นการดีก็ได้ ชั่วก็ได้ เช่น กุศลกรรม อกุศลกรรม. (๒) การกระทำที่ส่งผลร้ายมา ยังปัจจุบัน หรือซึ่งจะส่งผลร้ายต่อไปในอนาคต เช่น บัดนี้ กรรมตามทันแล้ว ระวังกรรมจะตามทันนะ. (๓) บาป, เคราะห์, เช่น คนมีกรรม กรรมของฉันแท้ ๆ. (๔) ความตาย ในคำว่า ถึงแก่กรรม.
  2. กรรม ๒, กรรม- ๒ : [กํา, กํามะ-] (ไว) น. ผู้ถูกกระทํา เช่น คนกินข้าว ข้าว เป็นกรรม ของกริยา กิน.
  3. วินย, วินัย : [วินะยะ] น. ระเบียบแบบแผนและข้อบังคับ, ข้อปฏิบัติ, เช่น วินัยทหาร ทหารต้องยึดมั่นในวินัย; สิกขาบทของพระสงฆ์. (ป., ส.).
  4. สติวินัย : น. วิธีระงับอนุวาทาธิกรณ์ของสงฆ์โดยไม่ต้องพิจารณา เพียงแต่สวดกรรมวาจาประกาศความไม่มีโทษของจําเลยไว้ซึ่ง เรียกว่า ให้สติวินัย แล้วยกฟ้องของโจทก์เสีย. (ป.).
  5. กรรมวิบาก : [กํามะวิบาก] น. ผลของกรรม. (ส. กรฺม + วิปาก = ผล; ป. กมฺม + วิปาก).
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : วินัยกรรม, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : วินัยกรรม, more than 5 found, display 1-5
  1. วินัยกรรม : การกระทำเกี่ยวกับพระวินัยหรือการปฏิบัติตามวินัย เช่น การปลงอาบัติ การอธิษฐานบริขาร การวิกัปบาตรและจีวร เป็นต้น
  2. วินัย : ระเบียบแบบแผนสำหรับฝึกฝนควบคุมความประพฤติของบุคคลให้มีชีวิตที่ดีงามเจริญก้าวหน้าและควบคุมหมู่ชนให้อยู่ร่วมกันด้วยความสงบเรียบร้อยดีงาม, ประมวลบทบัญญัติข้อบังคับสำหรับฝึกฝนควบคุมความประพฤติ; วินัย มี ๒ อย่างคือ ๑.อนาคาริยวินัย วินัยของผู้ไม่ครองเรือน คือ วินัยของบรรพชิต หรือวินัยของพระสงฆ์ ได้แก่ การไม่ต้องอาบัติทั้ง ๗ หรือ ปาริสุทธิศีล ๔ ๒.อาคาริยวินัย วินัยของผู้ครองเรือน คือ วินัยของชาวบ้าน ได้แก่ การงดเว้นจากอกุศลกรรมบถ ๑๐ หรือ กุศลกรรมบท ๑๐
  3. กรรม : การกระทำ หมายถึง การกระทำที่ประกอบด้วยเจตนา คือทำด้วยความจงใจหรือจงใจทำ ดีก็ตาม ชั่วก็ตาม เช่น ขุดหลุมพรางดักคนหรือสัตว์ให้ตกลงไปตาย เป็นกรรม แต่ขุดบ่อน้ำไว้กินใช้ สัตว์ตกลงไปตายเอง ไม่เป็นกรรม (แต่ถ้ารู้อยู่ว่าบ่อน้ำที่ตนขุดไว้อยู่ในที่ซึ่งคนจะพลัดตกได้ง่าย แล้วปล่อยปละละเลย มีคนตกลงไปตาย ก็ไม่พ้นเป็นกรรม) การกระทำที่ดีเรียกว่า กรรมดี ที่ชั่ว เรียกว่า กรรมชั่ว - 1.Karma; Kamma; a volitional action; action; deed; good and bad volition. 2.work; job; activity; transaction.
  4. กรรม ๑๒ : กรรมจำแนกตามหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการให้ผล พระอรรถกถาจารย์รวบรวมแสดงไว้ ๑๒ อย่างคือ หมวดที่ ๑ ว่าด้วยปากกาล คือ จำแนกตามเวลาที่ให้ผล ได้แก่ ๑.ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม กรรมให้ผลในปัจจุบัน คือในภพนี้ ๒.อุปปัชชเวทนียกรรม กรรมให้ผลในภพที่จะไปเกิด คือในภพหน้า ๓.อปราปริยเวทนียกรรม กรรมให้ผลในภพต่อๆไป ๔.อโหสิกรรม กรรมเลิกให้ผล หมวดที่ ๒ ว่าโดยกิจ คือจำแนกการให้ผลตามหน้าที่ ได้แก่ ๕.ชนกกรรม กรรมแต่งให้เกิด หรือกรรมที่เป็นตัวนำไปเกิด ๖.อุปัตถัมภกกรรม กรรมสนับสนุน คือเข้าสนับสนุนหรือซ้ำเติมต่อจากชนกกรรม ๗.อุปปีฬกกรรม กรรมบีบคั้น คือเข้ามาบีบคั้นผลแห่งชนกกรรมและอุปัตถัมภกกรรมนั้นให้แปรเปลี่ยนทุเลาเบาบางหรือสั้นเข้า ๘.อุปฆาตกกรรม กรรมตัดรอน คือกรรมแรงฝ่ายตรงข้ามที่เข้าตัดรอนการให้ผลของกรรม ๒ อย่างนั้นให้ขาดหรือหยุดไปทีเดียว หมวดที่ ๓ ว่าโดยปากทานปริยาย คือจำแนกตามลำดับความแรงในการให้ผล ได้แก่ ๙.ครุกกรรม กรรมหนัก ให้ผลก่อน ๑๐.พหุลกรรม หรือ อาจิณณกรรม กรรมทำมากหรือกรรมชิน ให้ผลรองลงมา ๑๑.อาสันนกรรม กรรมจวนเจียน หรือกรรมใกล้ตาย ถ้าไม่มี ๒ ข้อก่อนก็จะให้ผลก่อนอื่น ๑๒.กตัตตากรรม หรือ กตัตตาวาปนกรรม กรรมสักว่าทำ คือเจตนาอ่อน หรือมิใช่เจตนาอย่างนั้น ให้ผลต่อเมื่อไม่มีกรรมอื่นให้ผล
  5. กรรม : กรรมจำแนกตามคุณภาพ หรือตามธรรมที่เป็นมูลเหตุ มี ๒ คือ ๑.อกุศลกรรม กรรมที่เป็นอกุศล กรรมชั่ว คือเกิดจากอกุศลมูล ๒.กุศลกรรม กรรมที่เป็นกุศล กรรมดี คือเกิดจากกุศลมูล
  6. Budhism Thai-Thai Dict : วินัยกรรม, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : วินัยกรรม, more than 5 found, display 1-5
  1. ผาติกมฺม : (นปุ.) การทำให้เจริญ, ผาติ กรรม ชื่อคำที่ใช้ในวินัยสงฆ์ว่าด้วยการจำหน่ายครุภัณฑ์ โดยเอาของสงฆ์ที่เลวกว่า (มีค่าน้อยกว่า) แลกของดี (มีค่ามากกว่าให้สงฆ์) ฯลฯ.
  2. เฉทนก : ๑. นป. สิ่งที่ต้องตัดให้ถูกต้องตามวินัยกรรม, วิธีการตัดให้ถูกต้องตามวินัยกรรม ; ๒. ผู้ตัด, ผู้บั่น, ผู้ทอน, ผู้ฉีก
  3. ตชฺชนียกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์พึงทำแก่ ภิกษุผู้อันสงฆ์จะต้องคุกคาม, ตัชนียกรรม เป็นชื่อการลงโทษอย่างหนึ่งตามพระวินัย ซึ่งสงฆ์ทำแก่ภิกษุผู้มีความผิด ๓ ประการ คือ เป็นผู้ประพฤติไม่เหมาะสม คือ ๑ . ๑ มักทำการบาดหมาง ทะเลาะ – วิวาท ฯลฯ ๑ . ๒ เป็นพาลมีอาบัติมาก มีมรรยาท ไม่สมควร ๑ . ๓ คลุกคลีกับคฤหัสถ์อันไม่ สมควร เป็นผู้มีศีลวิบัติ อาจารวิบัติ และ ทิฏฐิวิบัติ และ ๓. กล่าวติเตียน พระพุทธ พระธรรม หรือพระสงฆ์ แม้อย่างใดอย่างหนึ่ง ก็ ลงตัชนิยกรรมได้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัติติจตุตถกรรมวาจา ไตร. ๖/๓
  4. ทณฺฑกกมฺม : (นปุ.) กรรมอัน... พึงทำด้วย อาชญา, กรรมคืออาชญา, การลงโทษ, การทำโทษ, การลงอาญา, การลงอาชญา, ทัณฑกรรม ( การลงโทษทางวินัย เช่น ให้กวาดลานวัด ตักน้ำรดต้นโพธิ์เป็นต้น ) . ส. ทณฺฑกรฺม.
  5. โอสารณา : (อิต.) โอสารณา ชื่อของวินัยกรรม อันสงฆ์ทำคือ : การเรียก (รับ) สามเณรผู้กล่าวติเตียนพระรัตนตรัย ถูกสงฆ์นาสนะผู้กลับ ประพฤติเรียบร้อยดีแล้ว ให้เข้าหมู่ได้ โอสารณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีอปโลกนกรรม. การเรียกอุปสัมปทาเปกขะ ซึ่งได้รับการไล่เรียง (ซักซ้อม) อันตรายิกธรรม ที่นอกเขตประชุมสงฆ์ (ห่างจากสงฆ์) ๑๒ ศอกแล้ว ให้เข้าหมู่สงฆ์ได้โอสาร- ณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัตติกรรม. การหงายบาตรแก่คฤหัสถ์ผู้ประพฤติให้ร้ายแก่พระศาสดา (ศาสนา)ถูกสงฆ์คว่ำบาตรคือไม่คบ ไม่รับกิจนิมนต์ ไม่รับบิณฑบาต ภายหลังรู้สึกตนกลับ ประพฤติเรียบร้อยดีแล้ว โอสารณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัตติทุติยกรรม. ๔. การยกโทษแก่ภิกษุผู้ประพฤติมิชอบ ซึ่งถูกสงฆ์ลงโทษด้วยตัชชนียกรรมผู้ กลับประพฤติดีแล้ว โอสารณานี้สงฆ์ ทำด้วยวิธีญัตติจตุตถกรรม.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : วินัยกรรม, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : วินัยกรรม, more than 5 found, display 1-5
  1. กรรม : กมฺมํ [นป.]
  2. หุ้มห่อ (กรรม) : นิวุต, โอนทฺธ
  3. กรรมที่ทำแล้วมไม่เป็นอันทำ : อกิริยา [อิ.]
  4. กรรมที่ให้ผลในชาติหน้า : อุปปชฺชเวทนียกมฺมํ [นป.]
  5. กรรมนิมิต : กมฺมนิมิตฺตํ [นป.]
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : วินัยกรรม, more results...

(0.2267 sec)