Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ว่างเปล่า, เปล่า, ว่าง , then ปลา, เปล่า, พ่าง, วาง, ว่าง, วางปลา, ว่างเปล่า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ว่างเปล่า, 217 found, display 1-50
  1. : (วิ.) ว่าง, เปล่า, ว่างเปล่า, สูญ.
  2. สุญฺญ : (วิ.) ว่าง, เปล่า, ว่างเปล่า, สงัด, หาแก่นมิได้, ไม่มีอะไร, หายไป, หายสิ้นไป, สูญ (หมด ไม่มีอะไรเหลือ). วิ. สุนสฺส หิตํสุญฺญํ (เกื้อกูลแก่การไป). สุน+ย ปัจ. ลบ อ ที่ น เป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ สุนติ ตุจฺฉภาวํ คจฺฉตีติ วา สุญฺญํ. สุนฺ สคติยํ, โย. ส.ศุนย.
  3. ตุจฺฉ : (วิ.) เปล่า ( ไม่มีอะไร ว่าง), ว่าง, ว่าง เปล่า, หาแก่นมิได้, เท็จ. ตุจฺ วินาเส, ตุทฺ พฺยถเน วา, โฉ. ธาตุหลัง แปลง ทฺ เป็น จฺ. ส. ตุจฺฉ.
  4. เผคฺคุ : (วิ.) ว่าง, เปล่า, หาแก่นมิได้, ไร้สาระ. วิ. ผลติ นิปฺผลํ คจฺฉตีติ เผคฺคุ (ถึงซึ่งความมีผลออกแล้ว ไม่มีผล). ผลฺ นิปฺผตฺติยํ, คุ, อสฺเส, ลสฺส โค.
  5. โมฆ : (วิ.) เปล่า, ว่าง, ปราศจากประโยชน์, หาประโยชน์มิได้. มุหฺ เวจิตฺเต, อ, อุสฺโส, หสฺส โฆ. มุหฺ มุจฺฉายํ, โฆ, หฺโลโป.
  6. อสาร : (วิ.) เปล่า, ว่าง, หาแก่นมิได้, ไม่มีแก่น.วิ.นตฺถิสาโรยสฺมึตํอสารํ.ส.อสาร.
  7. อติตุจฺจ : ค. ว่างเปล่า, ไม่มีอะไร
  8. มุธา : (อัพ. นิบาต) ว่าง, เปล่า.
  9. วิรห : ป. ความว่างเปล่า
  10. สุญฺญตา : (อิต.) ความที่แห่ง...เป็นของว่างเปล่า, ความที่แห่งของเป็นของว่างเปล่า, ฯลฯ, ความเป็นของว่างเปล่า. ตา ปัจ. ภาวตัท. ความว่าง, ความว่างเปล่า, ฯลฯ. ตา ปัจ. สกัด.
  11. อสุญฺญ : (วิ.) ไม่ว่าง, ไม่เปล่า, ไม่ว่างเปล่า.
  12. อากาสธาตุ : อิต. อากาศธาตุ, ที่ว่าง, สภาพที่ว่างเปล่า
  13. อากิญฺจญฺญ : นป. ความไม่มี, ความว่างเปล่า
  14. ลหุ : ๑. ค. เร็ว, พลัน; เบาะ; ซึ่งได้ปรารถนา; เปล่า, ไม่มีสาระ; ๒. อ. ดีละ
  15. วิวิจฺจ : อ. แยกออก, ว่าง
  16. อนฺตร : (วิ.) เว้น, ว่าง, อื่น.
  17. นิรตฺถ นิรตฺถก : (วิ.) มีประโยชน์ออกแล้ว, หาประโยชน์มิได้, ไม่มีประโยชน์, ปราศ จากประโยชน์, ไร้ประโยชน์, เปล่า. วิ. นตถิ อตฺโถ อสฺสาติ นิรตฺโถ นิรตฺถโก วา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. รู อาคม ศัพท์หลัง ก สกัด.
  18. นคฺค : (วิ.) เปล่า, เปลือย, เปลือยกาย. วิ. น คจุฉตีติ นคฺโค. นปุพฺโพ คมฺ คติยํ, กฺวิ. ลบ มุ แปลง ค เป็น คฺค หรือตั้ง ลคฺค สงฺเค, อ. แปลง ล เป็น น หรือ ตั้ง นชิ ลชิ ชิเลย, โณ. แปลง ช เป็น ค แล้วแปลงเป็น คฺค ธาตุหลังแปลง ล เป็น น. ส. นคฺน.
  19. กมฺมหีน : ค. ผู้ว่างงาน, ผู้ไม่มีการงานทำ
  20. ขชฺชโภชนาหาร : (ปุ.) อาหารคือของควรเคี้ยว และอาหารคือของควรบริโภค, อาหารว่าง และอาหารหนัก.
  21. ขลฺลาฏสีส : (นปุ.) ศรีษะแห่งบุคคลผู้เป็นไป ด้วยความเป็นแห่งบุคคลผู้ถือเอาซึ่ง ศรีษะเปล่า, ศรีษะของคนหัวล้าน.
  22. ตุจฺฉปตฺตหตฺถ : (วิ.) ผู้มีบาตรเปล่าในมือ วิ. ตุจฺโฉ ปตฺโต ตุจฺฉปตฺโต.ตุจฺฉปตฺโตหตฺเถสุ ยสฺส โส ตุจฺฉปตฺตหตฺโถ.
  23. ตุจฺฉา : (อิต.) ความเปล่า, ฯลฯ, ตุทนํ ตุจฺฉา. ตุทฺ พฺยถเน, โฉ, ทสฺส โจ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘.
  24. นิรนฺตร : (วิ.) มีระหว่างออกแล้ว, หาระหว่าง มิได้, ไม่มีระหว่าง, ไม่ขาด, ไม่ขาดสาย, ไม่เว้นว่าง, ติดต่อกัน, ติดต่อกันไป, ติดต่อกันตลอดไป, เสมอ, หนา, ชิด, หยาบ. ส. นิรนฺตร.
  25. โมฆปุริส : ป. โมฆบุรุษ, บุรุษเปล่า, คนไร้ประโยชน์
  26. ริตฺตมุฏฺฐิ : ป. กำมือเปล่า
  27. ริตฺตหตฺถ : ค. ซึ่งมีมือเปล่า
  28. สาตจฺจ : (วิ.) ติดต่อโดยรอบ, เป็นไปติดต่อ, เป็นไปติดต่อกัน, เป็นไปไม่ว่างเว้น, เป็นไปไม่ขาดสาย, เป็นไปเป็นนิตย์, เป็นนิตย์, เที่ยง, เนือง, บ่อย ๆ, เสมอ ๆ, ทุกเมื่อ. สตต+ณฺย ปัจ. สกัด แปลง ตฺย เป็น จฺจ ทีฆะ อ ที่ ส เป็น อา.
  29. สุญฺญาคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนว่าง, ฯลฯ, เรือนสงัด.
  30. องฺคณ : (นปุ.) กิเลสชาตเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ถึงภพน้อยและภพใหญ่, กิเลสชาตเป็นเครื่องถึงภพน้อยและภพใหญ่, กิเลสเพียงดังเนิน, กิเลสยวนใจ, กิเลสเครื่องยียวน, มลทิน, เปลือกตม, เนิน, ลาน, ลานข้าว, ที่ว่าง, ที่โล่งแจ้ง, ภุมิภาค.องฺค คมเน, ยุ, นสฺส โณ (แปลง น ซึ่งแปลงมาจาก ยุเป็น ณ).
  31. อตฺตกิลมถานุโยค : (ปุ.) การประกอบความเพียรด้วยการยังตนให้ลำบาก, การประกอบความเหน็ดเหนื่อยแก่ตน, การทรมาณตนให้ลำบากเปล่า, การประกอบความเพียรด้วยการยังตนให้ลำบากเปล่า, อัตกิลมถานุโยคชื่อทางสายหนึ่งในสามสายเป็นสายซ้าย.
  32. อโมฆ : (วิ.) ไม่เปล่า, ไม่เปล่าจากประโยชน์, ไม่ไร้ประโยชน์.
  33. อว : (อัพ. อุปสรรค)ปราศ (พ้นไป), รู้ (อวคต), ต่ำ, ลง(อวสิร), ใต้, แท้, แน่แท้ (อาธารณ), หมดจด (โวทาน), น้อย, ดูหมิ่น (อวชานน), ที่(โอกาส), ที่ว่าง, ติเตียน, แพร่หลาย, ซึมแทรก, แผ่ซ่าน, เสื่อม, กล่าว, ลัก(อวหาร), ลุ (ถึงสำเร็จ), แผนก, ส่วน.
  34. อวิจิอวีจิ : (ปุ. อิต.) อเวจีชื่อนรกขุมใหญ่ขุมที่๘.วิ.อคฺคิชาเลหิจทุกฺเขหิจสตฺเตหิจนฺตถิเอตฺถวีจิอนฺตรนฺติอวีจิ(ไม่ว่างเว้นจากเปลวไฟทุกข์และสัตว์คือมีเปลวไฟทุกข์และสัตว์ลอดกาล).นตฺถิวีจิเอตฺถาติวาอวีจิ.อคฺคิชาลานิวาทุกฺขเวทนานํวาสตฺตานํวานตฺถิวีจิอนฺตรเมตฺถาติวาอวีจิ.
  35. อสุญฺญกปฺป : (ปุ.) กับไม่ว่าง, กัลป์ไม่ว่าง.อสุญกัปอสุญกัลป์(กัปที่ไม่ว่างจากพระศาสนา).
  36. อากาส : (ปุ.) ช่องว่าง, ช่องว่างมีในกาย, กลางหาว, อากาศ, ฟ้า (ไถไม่ได้ ไม่อาจไถ เขียนไม่ได้), วิ. นกสฺสตีติอากาโส.กสิตุวิเลขิตุนสกฺโกตีติอตฺโถ.ภูสํกาสนฺเตทิปฺ-ปนฺเตปทตฺถาเอเตนาติวาอากาโส.อา-ปุพฺโพ, กสฺวิเลขเน, โณ.ส.อากาศ.
  37. อูนูทร : ค. มีท้องว่าง, มีท้องพร่อง
  38. เอกากินี : อิต. หญิงผู้เดียว, หญิงที่อยู่เปล่าเปลี่ยว
  39. เอกากิย : ค. โดดเดี่ยว, เปล่าเปลี่ยว
  40. เอกากี : (วิ.) ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เปล่าเปลี่ยว. เอกศัพท์ อากี ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๕๕.
  41. เอกิกา : อิต. หญิงผู้เดียว, หญิงเปล่าเปลี่ยว
  42. โอกาส : (ปุ.) ช่อง, ช่องเป็นที่ไถลง, ที่แจ้ง, ที่ว่าง, เหตุ, การณะ, เวลา, สถานที่, เทสะ, เอกเทศ, ทาง, ทนทาง. อวปุพฺโพ, กสฺ วิเลขเน, โณ. ไทย โอกาส (โอกาด) ใช้ ในความหมายว่า เวลาที่เหมาะสม เวลาที่เหมาะ ช่องที่เหมาะ อุ. ได้โอกาส การอนุญาต อุ. ให้โอกาส. ส. อวกาศ.
  43. ปลาป : ป. การพูดพร่ำ, การพูดมาก
  44. ปลาปิต : กิต. ดู ปลาต
  45. ปลาปี : ค. ผู้พูดพร่ำ
  46. ปลาเปติ : ก. ให้หนีไป
  47. ปลายี : ค. ผู้หนีไป
  48. ปลาล : นป. ฟาง
  49. ปลาลปุญฺช : ป. กองฟาง
  50. ปลาส : ป. ใบไม้; ความขึ้งเคียด, ความปองร้าย, การตีเสมอ
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-217

(0.0652 sec)