Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สำนวนโวหาร, โวหาร, สำนวน , then วหาร, โวหาร, สำนวน, สำนวนโวหาร .

Eng-Thai Lexitron Dict : สำนวนโวหาร, more than 7 found, display 1-7
  1. expression : (N) ; สำนวน
  2. idiom : (N) ; สำนวน ; Related:กลุ่มคำที่นำมารวมกันแล้วเกิดความหมายใหม่และแตกต่างจากความหมายของคำแต่ละคำที่อยู่ลำพัง ; Syn:expression
  3. phraseologist : (N) ; คนชอบใช้สำนวนโวหาร ; Related:เจ้าโวหาร
  4. phraseology : (N) ; การใช้สำนวนโวหาร ; Syn:verbalism
  5. Eng-Thai Lexitron Dict : สำนวนโวหาร, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : สำนวนโวหาร, more than 7 found, display 1-7
  1. สำนวนโวหาร : (N) ; literary style ; Related:flowery language ; Syn:โวหาร ; Def:ถ้อยคำที่เรียบเรียง ; Samp:หนังสือเล่มนี้ได้รับความนิยม เพราะผู้เขียนใช้สำนวนโวหารที่เข้าใจง่าย ; Unit:สำนวน
  2. โวหาร : (N) ; eloquence ; Related:words, diction, rhetoric, oratory ; Syn:สำนวนโวหาร ; Def:ชั้นเชิงหรือสำนวนแต่งหนังสือหรือพูด, ถ้อยคำที่เล่นเป็นสำบัดสำนวน ; Samp:หลายฝ่ายแสดงความคิดเห็นด้วยลักษณะของบัณฑิต ด้วยโวหารนุ่มนวล ; Unit:โวหาร
  3. ถ้อยคำสำนวน : (N) ; idiomatic wording ; Related:idiom ; Syn:สำนวนโวหาร ; Def:ถ้อยคำที่เรียบเรียงสละสลวย ; Samp:หนังสือของเขาเต็มไปด้วยถ้อยคำสำนวนแบบกวี
  4. สำบัดสำนวน : (N) ; eloquence ; Syn:สำนวนโวหาร ; Def:สำนวนคำพูด ; Samp:งานเขียนของเธอเล่นสำบัดสำนวนมากเกินไป จนแทบกลายเป็นบทลิเกไปเลย
  5. สำนวน : (N) ; aphorism ; Related:proverb, idiom, dictum, adage, epigram ; Syn:คำพังเพย, คำคม ; Def:ถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวสืบต่อกันมาช้านาน มีความหมายไม่ตรงตามตัวหรือมีความหมายอื่นแฝงอยู่ ; Samp:การทำงานของพ่อลูกคู่นี้ใช้ได้กับสำนวนลูกไม้หล่นไม่ไกลต้นเพราะถอดแบบเดียวกัน
  6. สำนวน : (N) ; case ; Related:dossier, file of a case ; Def:รายงานคดีที่เรียบเรียงโดยเจ้าหน้าที่ตำรวจเพื่อทำการส่งฟ้อง ; Samp:พนักงานสอบสวนกำลังทำสำนวนเพื่อส่งฟ้องอัยการ
  7. โวหาร : (N) ; diction
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : สำนวนโวหาร, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : สำนวนโวหาร, more than 5 found, display 1-5
  1. โวหาร : น. ชั้นเชิงหรือสํานวนแต่งหนังสือหรือพูด เช่น มีโวหารดี, ถ้อยคําที่ เล่นเป็นสําบัดสํานวน เช่น อย่ามาตีโวหาร เขาชอบเล่นโวหาร. (ป.).
  2. กัปปิยโวหาร : น. โวหารที่ควรแก่ภิกษุ เช่น เรียกเงินตรา ว่า กัปปิยภัณฑ์, ถ้อยคําสํานวนที่เหมาะแก่กาลเทศะ.
  3. เทศนาโวหาร : น. สำนวนเขียนที่เป็นไปในลักษณะการเทศนา ของพระ.
  4. พรรณนาโวหาร : น. สำนวนเขียนที่กล่าวเป็นเรื่องราวอย่างละเอียด เพื่อให้ผู้อ่านนึกเห็นเป็นภาพ.
  5. เจ้าสำบัดสำนวน, เจ้าสำนวน : น. ผู้ใช้คารมพลิกแพลง.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : สำนวนโวหาร, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : สำนวนโวหาร, 8 found, display 1-8
  1. โวหาร : ถ้อยคำ, สำนวนพูด, ชั้นเชิง หรือกระบวนแต่งหนังสือ หรือพูด
  2. คารวโวหาร : ถ้อยคำแสดงความเคารพ
  3. รูปิยสังโวหาร : การแลกเปลี่ยนด้วยรูปิยะ, การซื้อขายด้วยเงินตรา, ภิกษุกระทำ ต้องอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย์ (โกสิยวรรคที่ ๒ สิกขาบทที่ ๙)
  4. สุรนาทโวหาร : ถ้อยคำที่ฮึกห้าว
  5. เก็บวัตร : โวหารเรียกวินัยกรรมเกี่ยวกับวุฏฐานวิธีอย่างหนึ่ง คือ เมื่อภิกษุต้องครุกาบัติขั้นสังฆาทิเสสกำลังอยู่ปริวาส ยังไม่ครบเวลาที่ปกปิดอาบัติไว้ก็ดี กำลังประพฤติมานัตยังไม่ครบ ๖ ราตรีก็ดี เมื่อมีเหตุอันสมควร ก็ไม่ต้องประพฤติติดต่อกันเป็นรวดเดียว พึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ทำผ้าห่มเฉวียงบ่า นั่งกระหย่ง ประณมมือ ถ้าเก็บปริวาสพึงกล่าวว่า ปริวาสํ นิกฺขิปามิ แปลว่า ข้าพเจ้าเก็บปริวาส หรือว่า วตฺตํ นิกฺขิปามิ แปลว่า ข้าพเจ้าเก็บวัตร ว่าคำใดคำหนึ่ง ก็เป็นอันพักปริวาส ; ถ้าเก็บมานัต พึงกล่าวว่า มานตฺตํ นิกฺขิปามิ แปลว่า ข้าพเจ้าเก็บมานัต หรือว่า วตฺตํ นิกฺขิปามิ ข้าพเจ้าเก็บวัตร ดังนี้ ว่าคำใดคำหนึ่งก็เป็นอันพักมานัต ต่อไปเมื่อมีโอกาสก็ให้สมาทานวัตรใหม่ได้อีก
  6. ขึ้นวัตร : โวหารเรียกวินัยกรรมเกี่ยวกับวุฏฐานวิธีอย่างหนึ่ง คือเมื่อภิกษุต้องครุกาบัติชั้นสังฆาทิเสสแล้วอยู่ปริวาส ยังไม่ครบเวลาที่ปกปิดอาบัติไว้หรือประพฤติมานัตอยู่ยังไม่ครบ ๖ ราตรี พักปริวาสหรือมานัตเสียเนื่องจากมีเหตุอันสมควร เมื่อจะสมาทานวัตรใหม่เพื่อประพฤติปริวาสหรือมานัตที่เหลือนั้น เรียกว่าขึ้นวัตรคือการสมาทานวัตรนั่นเอง ถ้าขึ้นปริวาสพึ่งกล่าวคำในสำนักภิกษุรูปหนึ่งว่า ปริวาสํ สมาทิยามิ ข้าพเจ้าขึ้นปริวาส วตฺตํ สมาทิยามิ ข้าพเจ้าขึ้นวัตร
  7. สงคราม : การรบกัน, เป็นโวหารทางพระวินัย เรียกภิกษุผู้จะเข้าสู่การวินิจฉัยอธิกรณ์ ว่าเข้าสู่สงคราม
  8. อัพโพหาริก : กล่าวไม่ได้ว่ามี, มีแต่ไม่ปรากฏ จึงไม่ได้โวหารว่ามี, มีเหมือนไม่มี เช่น สุราที่เขาใส่ในอาหารบางอย่างเพื่อฆ่าคาวหรือชูรส และเจตนาที่มีในเวลาหลับ เป็นต้น

ETipitaka Pali-Thai Dict : สำนวนโวหาร, more than 5 found, display 1-5
  1. โวหาร : ก. การกล่าว, การเรียก
  2. กปฺปิยโวหาร : (ปุ.) ถ้อยคำอันควร, ถ้อยคำ อันสมควร, กัปปิยโวหาร คือถ้อยคำที่ควรใช้พูด ถ้อยคำที่ภิกษุใช้พูดให้เหมาะ สมแก่ภาวะไม่ผิดพระวินัย ในเมื่อต้องการให้ผู้อื่น (มิใช่บรรพชิต) ทำสิ่งหนึ่งสิ่งใด เช่นพูดว่า หญ้าข้างกุฏิรกเด็กหรือคนวัด ถอนหรือดายหญ้าให้ ภิกษุไม่ต้องอาบัติใน เพราะพรากของเขียว ดังนี้เป็นต้น.
  3. สมณโวหาร : (ปุ.) โวหารของสมณะ, โวหารอันควรแก่สมณะ, สมณโวหาร คือคำที่สำหรับใช้กับสมณะนั้นมีอีกประเภทหนึ่ง เช่นรับประทานข้าว ว่า ฉันจังหัน นอน ว่า จำวัด เป็นต้น
  4. สมฺมต : (ปุ.) คำอันบุคคลพึงรู้ตาม, ถ้อยคำอันบุคคลพึงรู้ตาม. วิ. สมฺมนนิตพฺโพติ สมฺมโต. อันรู้ตาม, การรู้ตาม, โวหาร, ถ้อยคำ. วิ. สมฺมนนํ สมฺมโต. สํปุพฺโพ, มนฺ โพธเน, ตกฺ ปจฺจโย. ลบที่สุดธาตุและ กฺ กัจฯ ๖๔๓.
  5. สมฺมติ : (อิต.) อันรู้ตาม, การรู้ตาม, โวหาร, ถ้อยคำ, วิชาว่าด้วยระเบียบ. ติ ปัจ.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : สำนวนโวหาร, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : สำนวนโวหาร, 1 found, display 1-1
  1. วัด : วิหาโร, อาราโม

(0.1746 sec)