Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สำนวน .

Eng-Thai Lexitron Dict : สำนวน, more than 7 found, display 1-7
  1. expression : (N) ; สำนวน
  2. idiom : (N) ; สำนวน ; Related:กลุ่มคำที่นำมารวมกันแล้วเกิดความหมายใหม่และแตกต่างจากความหมายของคำแต่ละคำที่อยู่ลำพัง ; Syn:expression
  3. parlance : (N) ; สำนวนพูด ; Related:สำนวนเขียน ; Syn:idiom, wording, diction
  4. flourish : (N) ; สำนวนสละสลวย
  5. officialese : (N) ; สำนวนภาษาของเอกสารทางการ ; Syn:jargon
  6. Eng-Thai Lexitron Dict : สำนวน, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : สำนวน, more than 7 found, display 1-7
  1. สำนวน : (N) ; aphorism ; Related:proverb, idiom, dictum, adage, epigram ; Syn:คำพังเพย, คำคม ; Def:ถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวสืบต่อกันมาช้านาน มีความหมายไม่ตรงตามตัวหรือมีความหมายอื่นแฝงอยู่ ; Samp:การทำงานของพ่อลูกคู่นี้ใช้ได้กับสำนวนลูกไม้หล่นไม่ไกลต้นเพราะถอดแบบเดียวกัน
  2. สำนวน : (N) ; case ; Related:dossier, file of a case ; Def:รายงานคดีที่เรียบเรียงโดยเจ้าหน้าที่ตำรวจเพื่อทำการส่งฟ้อง ; Samp:พนักงานสอบสวนกำลังทำสำนวนเพื่อส่งฟ้องอัยการ
  3. สำนวนโวหาร : (N) ; literary style ; Related:flowery language ; Syn:โวหาร ; Def:ถ้อยคำที่เรียบเรียง ; Samp:หนังสือเล่มนี้ได้รับความนิยม เพราะผู้เขียนใช้สำนวนโวหารที่เข้าใจง่าย ; Unit:สำนวน
  4. ลิ้นลม : (N) ; glib tongue ; Related:oral words, fine words ; Syn:สำนวน ; Def:ถ้อยคำที่คมคาย ; Samp:ดิฉันไม่เชื่อลิ้นลมของคนเจ้าเล่ห์อย่างเขาแน่นอน
  5. ถ้อยคำสำนวน : (N) ; idiomatic wording ; Related:idiom ; Syn:สำนวนโวหาร ; Def:ถ้อยคำที่เรียบเรียงสละสลวย ; Samp:หนังสือของเขาเต็มไปด้วยถ้อยคำสำนวนแบบกวี
  6. ตีสำนวน : (V) ; speak eloquently ; Related:play with words, use idiomatic expression, wisecrack ; Syn:เล่นสำนวน, ตีโวหาร, ตีฝีปาก, เล่นสำบัดสำนวน ; Def:พูดใช้สำนวนโวหารเป็นเชิงอวดฉลาด ; Samp:ประเด็นที่พูดตอนแรกไม่ได้ตีสำนวน แต่ต้องการให้ลองพิจารณา
  7. เล่นสำนวน : (V) ; make a pun ; Related:quibble, quip, equivocate ; Syn:เล่นลิ้น, ตีฝีปาก, ตีสำนวน, ลับคารม ; Samp:นักโต้วาทีบางท่านเล่นสำนวนเก่ง ทำให้คนฟังชื่นชอบ
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : สำนวน, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : สำนวน, more than 5 found, display 1-5
  1. เจ้าสำบัดสำนวน, เจ้าสำนวน : น. ผู้ใช้คารมพลิกแพลง.
  2. ถ้อยคำสำนวน : (กฎ) น. หนังสือใด ๆ ที่ศาลจดเป็นหลักฐานแห่ง รายละเอียดทั้งหลายในการดำเนินคดีอาญาในศาลนั้น.
  3. ท้องสำนวน : น. เนื้อหาของเรื่อง.
  4. ปิดสำนวน : (ปาก) ก. ยุติการสอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับคดี.
  5. เล่นสำนวน : ก. ใช้คารมพลิกแพลง.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : สำนวน, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : สำนวน, 1 found, display 1-1
  1. โวหาร : ถ้อยคำ, สำนวนพูด, ชั้นเชิง หรือกระบวนแต่งหนังสือ หรือพูด

ETipitaka Pali-Thai Dict : สำนวน, 5 found, display 1-5
  1. กตญฺญุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุคคลอื่นทำแล้วแก่ตน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุพการีชนทำแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้กตัญญู, ความเป็นผู้กตัญญู. วิ. กตญฺญุสฺส ภาโว กตญฺญุตา. รัสสะ อู เป็น อุ ในเพราะ ตา ปัจ. รูปฯ ๓๗๑. ความกตัญญู ลง ตา ปัจ. สกัด. มีสำนวนแปลอีก ดู กตญฺญู.
  2. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  3. นจฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺสน : (นปุ.) การฟ้อน รำและเพลงอันบุคคลพึงขับและดนตรี อันบุคคลพึงประโคมและการดูการเล่น อันเป็นข้าศึกแก่กุศล, การฟ้อนและการขับและการประโคมดนตรีและการดูการเล่นอันเป็นข้าศึกแก่กุศล. สำนวนการแปลแรกที่แปล คีต และ วาทิต ว่าพึงนั้นแปลตามรูป วิ. เคตพฺพนฺคิ คีตํ. วาทิตพฺพนฺติวาทิตํ.
  4. ปรสุเว ปรเสฺว : (อัพ. นิบาต) ในวันพรุ่ง, ใน วันมะรืน, มะรืนนี้, ปะรืน ( สำนวนเก่า ).
  5. อนมตคฺค : (วิ.) มีที่สุดและเบื้องต้นอันบุคคลไปตามอยู่รู้ไม่ได้แล้ว, มีวิ.ตามลำดับ ดังนี้ปเรกเสสทวัน. อคฺโค จ ปุพฺโพ จ อคฺคา.วิเสสนบุพ.กัม.อนุคจฺฉิยมานา จ เตอคฺคาจาติอนุคจฺฉิมานคฺคา.นบุพ.กัม. น มตา อนมตา (อนุคจฺฉิยมานคฺคา)วิเสสน บุพ.กัม.อนมตาจเตอนุคจฺ-ฉิยมานคฺคาจาติอนมตคฺคา.ตทัสสิตัท.อนมตคฺคาอสฺสอตฺถีติอนมตคฺโค (สํสาโร วฎฺฎสํสาโร).มีสำนวนแปลอีกคือมีที่สุดอันบุคคลไปตามไม่รู้แล้ว, มีที่สุดอันบุคคลไม่รู้แล้ว, มีที่สุดและเบื้องต้นอันใครๆ ไปตามไม่รู้แล้ว, มี่ที่สุดและเบื้องต้นอันบุคคลไปตามไม่รู้แล้ว.

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : สำนวน, not found

(0.0216 sec)