Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หลั่ง , then หลง, หลั่ง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หลั่ง, 63 found, display 1-50
  1. ทกฺขิโณทก : (นปุ.) น้ำอันบุคคลพึงให้เพื่อทาน สมบัติอันเจริญ, ทักขิโณทก, ทักษิโณทก. เดิมคำนี้เป็นชื่อของน้ำที่เจ้าภาพถวายแด่ พระก่อนจะฉันภัตตาหาร เพื่อใช้บ้วนปาก ล้างมือหรือชุบมือ ( กรณีฉันด้วยมือ ) แต่ปัจจุบันนี้หมายถึงน้ำที่เจ้าภาพหลั่ง ( เทให้ใหลลงช้าๆ โดยไม่ขาดสาย ) เวลา ทำบุญ เพื่ออุทิศส่วนกุศลแด่ผู้ล่วงลับไป แล้ว หรือเป็นชื่อของน้ำที่เจ้าของสิทธิ์ หลั่งลง เป็นการแสดงการมอบของที่ไม่ สามารถยกได้ให้เป็นสิทธิ์ขาด อีกอย่าง หนึ่ง เป็นชื่อของเต้าน้ำ ราชาศัพท์ใช้ว่า พระเต้าษิโณทก คำกลอนมักตัดทักออก ใช้ว่า ษิโณทก.
  2. ทุห : ค. ซึ่งหลั่ง, ซึ่งให้
  3. นิสฺสนฺท : ป. ผลลัพธ์, ความหลั่งไหล, การไหลออก
  4. ปโมกฺข : ป. การเปลื้อง, การปลดปล่อย, การเปล่ง, การหลั่งไหล; ความหลุดพ้น
  5. ปยจฺฉติ : ก. ให้, มอบให้, หลั่งให้
  6. ปเวจฺฉติ : ก. ให้; หลั่งไหล
  7. ปุญฺญาภิสนฺท : ป. การหลั่งไหลแห่งบุญ, ผลของบุญ
  8. เมหน : (นปุ.) อวัยวะอันมีในที่ลับ, อวัยวะสำหรับหลั่งมูตร, อวัยวะสำหรับหลั่งโลหิต, นิมิตรของบุรุษ, นิมิตรของสตรี, ของลับของบุรุษ, ของลับของสตรี. วิ. มิหติ เรตมุตฺตานิ อเนนาติ เมหนํ. มิหฺ เสจเน, ยุ.
  9. วิสฏ : กิต. แพร่หลายแล้ว, หลั่งไหลแล้ว
  10. วิสฺสนฺทติ : ก. หลั่งไหล, ท่วมนอง
  11. วิสฺสนฺทน : นป. การหลั่งไหล, การท่วมนอง
  12. สุตุต สุตฺร : (นปุ.) พระพุทธวจนะ (ปาวจนา), พระสูตร ชื่อหมวด ๑ ในพระไตรปิฎก คำเต็มว่า พระสุตตันตะ. วิ.อตฺเถ อภสเวตีติ สุตฺตํ สุตรํ วา (หลั่งอรรถ). สุ อภิสเว, โต, ทวิตฺตํ, ตฺรณฺปจฺจโย วา. อตฺเถ สูเทตีติ วา สุตฺตํ สุตฺรํ. สูทฺ ปคฺฆรเณ, รสโส, ทฺโลโป. อตฺถํ สุฏฐ ตายตีติ วา สุตฺตํ สุตฺรํ (รักษาด้วยดีซึ่งอรรถรักษาอรรถไว้ดี). สุฏฐปุพฺโพ, ตา ปาลเน, อ, ฏฐโลโป. ศัพท์ต้นซ้อน ตฺ. สูตร ชื่อกฎของไวยากรณ์สำหรับใช้สร้างศัพท์ เช่น โยนํ โน การอาเทศเป็น โนแห่งโย ทฺ เป็นต้น.
  13. สูท : (ปุ.) คนผู้หลั่งออกซึ่งรส, คนผู้ยังรสให้หลั่งออก. สุ ปคฺฆรเรณ, โท, ทีโฆ. อถวา, สุทฺ สูทฺ วา ปคฺฆรเณ, อ. คนผู้ยังขาทนียะ และโภชนียะให้สุก, คนผู้ยังอาหารให้สุก, คนครัว, พ่อครัว. สุ. พฺยนฺตีกรเณ, โท.
  14. อาสิญฺจ อาสิญฺจน : (นปุ.) การรด, การหลั่ง, การประพรม, การโปรย. อาปุพฺโพ, สิจฺ ปคฺฆรเณ, อ. ยุ.
  15. มุสฺสติ : ก. ลืม, หลง
  16. มุฏฺฐสฺสตี : ค. หลง ๆ ลืม ๆ
  17. มุทฺธ : (วิ.) เขลา, โง่, หลง. มุหฺ เวจิตฺเต, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบ หฺ.
  18. มุยฺหติ : ก. หลง
  19. โมห : (วิ.) เขลา, โง่, หลง. มุหฺ เวจิตฺเต, โณ.
  20. วิโมเหติ : ก. หลง
  21. กามมุจฺฉา : อิต. ความลุ่มหลงในกาม
  22. ชีวิตมท : ป. ความมัวเมาในชีวิต, ความหยิ่งในชีวิต, ความหลงในชีวิต
  23. ทิสามูลฬฺห : ค. ผู้หลงในทิศ, ผู้หลงทาง
  24. ปฏฺฐาน : นป. การเริ่มตั้งไว้, การตั้ง, การเริ่มต้น; จุดตั้งต้น, แหล่ง, เหตุ; ชื่อคัมภีร์ที่ ๗ แห่งอภิธรรมปิฎก
  25. ปปญฺจสงฺขา : อิต. ธรรมที่นับว่าเป็นเครื่องทำให้เนิ่นช้า, ธรรมที่เป็นส่วนแห่งความเนิ่นช้า, เครื่องหมายแห่งความลุ่มหลง
  26. ปปญฺจิต : ๑. กิต (อันเขา) ให้เนิ่นช้า, ให้หน่วงเหนี่ยว, ให้ล่วงแล้ว; ๒. นป. ความเนิ่นช้า, ความคิดฟุ้งเฟ้อ, ความหลงผิด
  27. ปปญฺเจติ : ก. ทำให้เนิ่นช้า, ชักช้า, ให้พิสดาร, กล่าวให้เยิ่นเย้อ, ทำให้ฟั่นเฝือ, อธิบาย, หลงผิด
  28. ปมาที : ค. ซึ่งทำให้มัวเมา, ซึ่งทำให้ลุ่มหลง
  29. ปมุจฺฉิต : ค. เป็นลมสลบ; มัวเมา, ลุ่มหลง, สยบ
  30. ปมุยฺหติ : ก. ลุ่มหลง, มัวเมา
  31. ปมูฬฺห : ค. ผู้ลุ่มหลง, ผู้มัวเมา
  32. ปโมห : ป. ความลุ่มหลง, ความมัวเมา
  33. ปโมหก : (วิ.) ผู้ทำให้หลง. ปโมหปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, กวิ.
  34. ปโมหน : นป. การหลอกลวง, ความหลงผิด
  35. ปโมเหติ : ก. หลอกลวง, ให้ลุ่มหลง, ล่อให้หลง
  36. ปุถุชฺชน : ป. ปุถุชน, คนธรรมดา, คนสามัญ, คนต่ำ, คนหลง
  37. มคฺคมุฬฺห : ป. คนหลงทาง
  38. มหากิริยา : (อิต.) มหากิริยา ชื่อของการกระทำของพระอรหันต์ พระอรหันต์ท่านทำอะไร ก็ทำด้วยจิตบริสุทธิ์ ไม่มีโลภ โกรธหลง ไม่ยึดเอาเป็นบุญเป็นบาป จึงเรียกว่า มหากิริยา.
  39. มุฏฺฐ : กิต. หลงแล้ว, ลืมแล้ว
  40. มุฏฺฐสจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีสติอันเผลอแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีสติอันลืมแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีสติอันหลงแล้ว, ความเป็นคนเผลอสติ, ฯลฯ. มุฏฺฐ+สติ+ณฺย ปัจ. ลบ อิ แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  41. มุณฺห : (วิ.) หลง, เขลา, โง่. มุหฺ เวจิตฺเต, ยุ.
  42. มุฬฺห : (ปุ.) ความหลง, ความเขลา, ความโง่. มุหฺ เวจิตฺเต, โฬ. กลับอักษร เอา ฬ ไว้หน้า ห.
  43. โมมูห : (ปุ.) ความหลงใหล, ความหลงมาก, ความหลงเลอะ, ความโง่เขลา, ความโง่เง่า. มุหฺ เวจิตฺเต, โณ. เท๎วภาวะ มุ แปลง อุ เป็น ทีฆะ อุ ที่ มุ ตัวธาตุ.
  44. โมหกฺขย : ป. สิ้นความหลง
  45. โมหตม : ป. ความมืดคือความหลง
  46. โมหนฺธ : (ปุ.) ความมืดด้วยความหลง, ความมืดมน.
  47. โมเหติ : ก. หลอกลวง, ให้หลง, ทำให้ผิดทาง, ตบตา
  48. วิตณฺฑวาท : ป. พูดให้หลงเชื่อ
  49. สมถ : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องระงับ, ธรรมยังนิวรณ์ห้า มี กามฉันท์ เป็นต้นให้สงบ. วิ. กามฉนฺทาทิกํ ปญฺจนิวรณํ สเมตีติ สมโถ. สมุ อุปสเม. โถ แปลง อุ เป็น อ. ความสงบ, ความระงับ, ความสงบระงับ. วิ. สมนํ สมโถ. สมาธิ, สมถะ, ชื่อว่า สมถะ เพราะอรรถว่าไม่ฟุ้งซ้าน อวิกฺเขปฏเฐน สมโถ. สมถุ ชื่อของภาวนาอย่างที่ ๑ ในภาวนา ๒ เป็นอุบายสงบใจ เป็นวิธีทำใจให้สงบหลบทุกข์ไปได้ชั่วคราวมีผลเพียงให้กิเลสอย่างกลางระงับไปชั่วคราว ที่ท่านเปรียบไว้ว่าเหมือนเอาหินทับหญ้าเท่านั้น เมื่อเอาหินออก หญ้าก็งอกงามตามเดิม แต่ก็ยังผู้ปฏิบัติให้หลงไปว่าได้บรรลุโลกุตรธรรมเป็นพระอริยบุคคลไปก็มี เมื่อหลงไปเช่นนี้ก็เป็นอันตรายแด่พระพุทธศาสนาเหมือกัน. คำ สมถะ ไทยใช้ในความหมายว่า มักน้อย ปฏิบัติตนปอน ๆ.
  50. สมฺมุจฺฉติ : ก. หลงรัก
  51. [1-50] | 51-63

(0.0084 sec)