Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อายุ , then อาย, อายุ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อายุ, 91 found, display 1-50
  1. อายุ : (ปุ. นปุ.) ธรรมชาติเป็นเครื่องเจริญแห่งสัมปยุตธรรม, ความเป็นไป, ชีวิต, ชิวิติน-ทรีย์, ชนมพรรษา, ชันษา, อายุ(เวลาที่ดำรงชีวิตอยู่เวลาชั่วชีวิตของสิ่งนั้นๆ).วิ.เอนฺติสตฺตาเอเตนาติอายุ.อิคติยํ, ณุ.อถวา, อาปุพฺโพ, ยุมิสฺสนคตีสุ, อ. รูปฯ๖๓๕.ส. อายุษฺอายุสฺ.
  2. อายุเวท : ป. อายุรเวท, วิชาเกี่ยวกับการรักษาโรค
  3. อายุหน : (นปุ.) การประมวลมา, ความประมวลมา.อาปุพฺโพ, อูหฺปฐเน, อ, ยุ, รสฺโสยฺอาคโม.
  4. ชีวิต : (นปุ.) ความเป็น, ความเป็นอยู่, อายุ, ชีวิต, ชีวัน, ชีวิตินทรีย์. ชีวฺ+ตปัจ.อิอาคม.
  5. ชีวิตินฺทฺรย ชีวินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นอยู่, อินทรีย์ คือชีวิต, อายุ, ชีวิต, ชีวิตินทรีย์ ได้แก่ เจตสิกที่เป็นใหญ่ในการรักษานาม ธรรม.
  6. อาย : (ปุ.) กำไร(ผลที่เกิดจาการลงทุน). อยฺคมเน, โณ, ส.อาย.
  7. ขณ : (ปุ.) ครู่, ครั้ง, คราว, สมัย, เมื่อ (ครั้ง คราว), นาที, ขณะ, กษณะ. วิ. สตฺตานํ อายุ ขียติ หายติ เอตฺถ กาเลติ ขโณ. ขี ขเย, ยุ. ขณฺ หึสายํ วา, อ. ส. กฺษณ.
  8. ฉพฺพสฺส : ค. มีปีหก, มีหกปี (อายุ)
  9. ยปนา : (อิต.) ความเป็นอยู่, ความเป็นไป, ความดำเนินไป, อายุ. ยปฺ วตฺตเน, ยุ.
  10. อายุรเวชฺช : (ปุ.) หมอผู้รักษาชีวิตวิ.อายุโรเวชฺโชอายุรเวชฺโช.หมอผู้เป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่ชีวิตวิ.อายุสฺโสเวชฺโชอายุร-เวชฺโช.ลบสฺสังโยคแปลงสเป็นรตามวิธีของสันสกฤต, อายุรแพทย์(หมอผู้รักษาชีวิตของคนไข้ด้วยการใช้ยา ). ส. อายุ-รไวทฺย.
  11. กปฺปกาล : ป. กาลที่สิ้นอายุของโลก
  12. กาล : (ปุ.) สภาพผู้บั่นทอนคือ ยังชีวิตของสัตว์ ให้สิ้นไป วิ. สตฺตานํ อายุ กลยติ เขเปตีติ กาโล. กลฺ เขเป, โณ. สภาพผู้ทำชีวิตของสัตว์ให้น้อยลง ๆ ทุกวัน ๆ วิ. สตฺตานํ ชีวิตํ ทิวเส ทิวเส อปฺปํ อปฺปํ กโรตีติ กาโล. กรฺ กรเณ, โณ, รสฺส ลตฺตํ. อายุ, ยุค, กาล, สมัย, ครั้ง, คราว, หน, เวลา, การนับ, การคำนวณ. วิ. กลฺยเต อายุปฺปมาณาทโย อเนนาติ กาโล. กลฺ สํขฺยาเณ, โณ, การทำ วิ. กรณํ กาโร, โส เอว กาโล. อภิฯ. รูปฯ วิ. กรณํ กาโล. แปลง ร เป็น ล. ส. กาล.
  13. ขิฑฺฑาทสก : นป. รอบสิบปีของการเล่น, ได้แก่สิบปีที่สองของชีวิตมนุษย์ คือ ๑๑-๒๐ ปี ของอายุ
  14. ปพฺพชฺชา : (อิต.) การเว้น, การละเว้น, การบวช, บรรพชา (การละเว้นจากการทำชั่ว ทุกอย่าง ). บรรพชานั้นต้องเว้นจากเมถุน ธรรม การบวชในศาสนาหรือลัทธิใดก็ตาม ถ้าเว้นจากกามกิจแล้วเรียกว่าบรรพชาได้. ความหมายของคำ ปพฺพชา นั้น คือการออกจากความเป็นฆราวาส ไปประพฤติตน เป็นนักบวช ต่อมามีพระบัญญัติให้ผู้ที่มี อายุยังไม่ครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์บวช เรียกผู้ที่ บวชนั้นว่า สามเณร สามเณรี จึงแยกการบวชออกเป็น ๒ คือ บวชเป็นภิกษุ เรียกว่า อุปสมบท บวชเป็น สามเณร สามเณรี ว่า บรรพชา. ปปุพฺโพ, วชฺชฺ วชฺชฺเน, อ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘ รูปฯ ๖๔๔ วิ. ปฐเมว วชิตพฺพาติ ปพฺพชฺชา. ปฐมปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, โณฺย ภาวกมฺเมสุ. แปลง ชฺย เป็น ชฺช แปลง ว เป็น วฺว แล้วแปลงเป็น พฺพ. โมคฯ ลง ย ปัจ. ส. ปฺรวรชฺยา.
  15. ปพฺภารทสก : นป. ระยะ ๑๐ ปี ที่มีกายเงื้อมไปข้างหน้า, วัยของคนอายุระหว่าง ๖๐ ถึง ๗๐ ปี
  16. ปรมายุ : ป. กำหนดอายุ, เกณฑ์อายุ
  17. พุฑฺฒ : (วิ.) แก่, เฒ่า (ผู้สูงอายุ) วฑฺฒฺ วฑฺฒฺเน, อ. อภิฯ ลง ต ปัจ. แปลงเป็น ฒ แปลงที่สุดธาตุ เป็น ฑ ลบ ฑฺ สังโยค แปลง ว เป็น พ อ เป็น อุ.
  18. ภวงฺคจิตตฺ : (นปุ.) จิตเป็นองค์แห่งภพ, จิตตกลงสู่กระแสภวังค์, จิตเป็นภวังค์, ภวังคจิต คือ จิตตกลงสู่กระแสภวังค์ เป็นอยู่โดยไม่รู้สึกตัว สืบต่อไว้ซึ่งภพ บังเกิดติดต่อกันดุจกระแสน้ำไหล ทำหน้าที่รักษาภพชาติให้ดำรงอยู่ อีกบรรยายหนึ่งจิตที่เกิดต่อจากปฏิสนธิ จิตทำหน้าที่รักษาภพชาติให้ดำรงอยู่เท่าที่อายุของสังขารจะอยู่ได้ในภพที่ปฏิสนธิ (เกิด) นั้น เกิดดับโดยไม่ขาดสายจนกว่าจะถึงจุติจิต (ตาย) จิตนั้นจะขาดจากภวังค์เมื่อขึ้นสู่วิถีรับอารมณ์ทางทวารทั้ง ๖ ก็ขาดจากภวังค์ เมื่อรับอารมณ์แล้ว จิตก็ตกกระแสภวังค์ต่อไป วนอยู่อย่างนี้.
  19. มหลฺล มหลฺลก : (วิ.) ใหญ่, โต, มาก, แก่, ผู้ถือเอาซึ่งความเป็นผู้ใหญ่โดยอายุ. วิ. อายุมหตฺตํ ลาตีติ มหลฺโล มหลฺลโก วา.
  20. มาส : (ปุ. นปุ.) เดือน (ระยเวลา ๓๐ วัน). วิ. สตฺตานํ อายุ มิณนฺโต วิย สียติ อนฺตํ กโรตีติ มาโส. มา (นับ)+สา ธาตุ ในความจบ. สุด อ ปัจ. มิณนฺต มาจาก มาธาตุ นา และ อนฺต ปัจ. แปลง นา เป็น ณา รัสสะ. อีกอย่างหนึ่งเป็น มสิ ปริมาเณ, โณ.
  21. ยาวชีวิก : (นปุ.) ของเป็นยาวชีวิก คือ ของจำพวกยา ภิกษุรับประเคนได้ทุกเวลา และฉันได้ตลอดไปตามอายุของยา.
  22. ยาวตายุก : (นปุ.) กำหนดเพียงใดแห่งอายุ, กำหนดเพียงไรแห่งอายุ.
  23. ยาวตายุก : ก. วิ. ตราบเท่าอายุ
  24. สาสนทายาท : (ปุ.) บุคคลผู้รับมรดกในศาสนา, บุคคลผู้สืบอายุศาสนา, บุคคลผู้สืบศาสนา.
  25. หล หฬ : (ปุ.) คนพาล คือคนอ่อน อายุยังน้อยอยู่ ไม่ใช่คนเกเร, เด็ก. วิ. โหเลติ ภูมึ ภินฺทนฺโต มตฺติกภณฺฑํ จาเลตีติ หโล หโฬ วา. หฺลฺ หฬฺ วา วิเลขเน, อ. หุลฺ กมฺปเน วา. แปลง อุ เป็น อ.
  26. อายุกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งอายุ, การสิ้นอายุ
  27. อายุกปฺป : ป. ชั่วอายุ, ชั่วชีวิต, กำหนดชั่วอายุหนึ่ง
  28. อายุขย : (ปุ.) ความสิ้นไปแห่งอายุ, ความสิ้นแห่งอายุ, ความสิ้นอายุ, การสิ้นอายุ, อายุขัย ( ความตาย เมื่อหมดเขตของอายุของสัตว์).ส.อายุกฺษย.
  29. อายุปฺปมาณ : นป. ประมาณแห่งอายุ, ประมาณอายุ
  30. อายุปริยนฺต : ป. ที่สุดรอบแห่งอายุ
  31. อายุ : (วิ.) ผู้รักษาอายุ, ผู้รักษาชีวิต.อายุปุพฺโพรกขฺปาลเน, กฺวิ, กฺขฺโลโป.
  32. อายุวฑฺฒก : (วิ.) ผู้เจริญด้วยอายุ, ผู้มีอายุยืน.
  33. อายุวฑฺฒน : (นปุ.) การเจริญด้วยอายุ, ความเจริญด้วยอายุ(อายุยืน ).
  34. อายุ : นป. ชั่วอายุ, ตลอดชีวิต
  35. อายุสงฺขาร : ป. อายุสังขาร, ปัจจัยปรุงแต่งอายุ, ชีวิต
  36. อายูหา : อิต. อายุ, ชีวิต, อายุกาล
  37. อาวุโส : (อัพ. นิบาต) แน่ะท่านผู้มีอายุ, แน่ะ ผู้มีอายุ, ดูกรท่านผู้มีอายุ, ดูก่อนท่านผู้มี อายุ, ท่านผู้มีอายุ, คุณ. เป็นคำสำหรับ นักบวชเรียกนักบวช ผู้มีพรรษาอ่อนกว่า หรือสำหรับนักบวชพูดกับชาวบ้านก็ได้ แปลว่า จ๊ะ เจริญพร ขอเจริญพร. แปลว่า ขอรับ. ก็ได้. พูดกับผู้ชายแปลว่า พ่อ พูดกับผู้หญิง แปลว่า แม่. ส. อายุษมตฺ.
  38. อายโกสลฺล : นป. ดู อายกุสล
  39. อายกุสล : นป. ความฉลาดในการหาเลี้ยงชีพ
  40. อายค : ป. เครื่องบูชา, ไทยธรรม
  41. อายตก : (วิ.) เดิม, กว้าง, ฯลฯ.
  42. อายตนิก : ค. มีส่วน, มีภาค, ประกอบด้วยเครื่องต่อ
  43. อายติ : (อิต.) อันไป, การไป, เวลาต่อไป, ความเป็นของยาว, ความเป็นของยืดยาว, เดชอันเกิดแต่อาชญา, เดชอันเกิดจากมีอำ-นาจลงอาชญา.อาปุพฺโพ, อิคติยํ, ติ.ส.อายติ.
  44. อายติก : ค. อันเป็นอนาคต
  45. อายติกา : ท่อน้ำ, ท่อสูบน้ำ (ไม่ได้บอกชนิดของคำไว้)
  46. อายติชาติชรามรณีย : (วิ.) อันเป็นที่ตั้งแห่งชาติและชราและมรณะต่อไป.เป็นฐานตัท.มีส. ทวันและวิเสสนบุพ.กัม. เป็นท้อง.
  47. อายติอายติก : (วิ.) ต่อไป.
  48. อายตี : (อัพ. นิบาต) ต่อไป, เบื้องหน้า, ในกาลต่อไป.
  49. อายตึ : ก. วิ. ต่อไป
  50. อายปริจฺจาค : ป. การบริจาคทรัพย์ที่หามาได้
  51. [1-50] | 51-91

(0.0221 sec)