Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เชื่อลมปาก, เชื่อ, ลมปาก , then ชอ, ชอลมปาก, เชื่อ, เชื่อลมปาก, ลมปาก .

Eng-Thai Lexitron Dict : เชื่อลมปาก, more than 7 found, display 1-7
  1. go away with : (PHRV) ; เชื่อ ; Related:เชื่อถือ ; Syn:get away with
  2. see : (VT) ; เชื่อ ; Related:เชื่อว่า ; Syn:believe
  3. accept : (VT) ; เชื่อ ; Related:ยอมรับว่าจริง ; Syn:believe, trust, affirm
  4. Adam and Eve : (SL) ; เชื่อ
  5. believe : (VT) ; เชื่อ ; Syn:accept ; Ant:doubt
  6. get over 2 : (PHRV) ; เชื่อถือ ; Related:เชื่อ
  7. take something on trust : (IDM) ; เชื่อถือ ; Related:เชื่อ
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : เชื่อลมปาก, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : เชื่อลมปาก, more than 7 found, display 1-7
  1. เชื่อลมปาก : (V) ; believe in one's words ; Syn:เชื่อคำพูด ; Def:เห็นตามหรือไว้ใจถ้อยคำที่กล่าวออกมาเพื่อจูงใจให้คล้อยตาม ; Samp:ถ้าเธอเชื่อลมปากของเขา เธออาจจะต้องมาเสียใจภายหลังก็ได้
  2. ลมปาก : (N) ; words ; Related:persuasive words ; Def:ถ้อยคำที่กล่าวออกมา, คำพูดที่พูดจูงใจให้เห็นคล้อยตาม ; Samp:เรื่องที่เขาเคยให้สัญญาว่า จะช่วยเหลือเรื่องเรียนลูก ก็เป็นเพียงลมปากเท่านั้น
  3. หลงลม : (V) ; believe someone's sweet words ; Related:be deceived, be beguiled ; Syn:เชื่อลมปาก, หลงลมปาก, หลงเชื่อ, หลงลิ้น ; Samp:เธออย่าไปหลงลมเขานะ
  4. เชื่อ 1 : (V) ; believe ; Related:obey ; Syn:เชื่อฟัง
  5. เชื่อ 1 : (V) ; believe in ; Related:have faith in ; Syn:ศรัทธา, เลื่อมใส, เชื่อมั่น, ไว้ใจ ; Ant:ลบหลู่ ; Samp:ชาวไทยเชื่อในพระพุทธศาสนา
  6. เชื่อ 2 : (V) ; buy on credit ; Syn:เซ็น ; Ant:สด ; Def:ซื้อหรือขายโดยติดค้างไว้ ไม่ต้องชำระเงินทันที ; Samp:เราได้ของเหล่านี้มาโดยเชื่อไว้กับร้านไว้ก่อน
  7. หลงเชื่อ : (V) ; be naive ; Related:trust easily ; Syn:เชื่อ ; Samp:อย่าหลงเชื่อใครง่ายๆ โดยไม่ตรวจสอบให้ชัดเจนก่อน
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : เชื่อลมปาก, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : เชื่อลมปาก, more than 5 found, display 1-5
  1. เชื่อ : ก. เห็นตามด้วย, มั่นใจ, ไว้ใจ; ซื้อหรือขายโดยติดค้างไว้ ไม่ต้องชําระเงินทันที.
  2. ลมปาก : น. ถ้อยคำที่กล่าว เช่น อย่าสัญญาเพียงลมปาก, คำพูด ที่จูงใจให้เห็นคล้อยตาม เช่น หลงลมปากจึงตามเขาไป.
  3. เชื่อมือ : (ปาก) ก. เชื่อฝีมือ, เชื่อความรู้ความสามารถ.
  4. เชื่อวัน : ว. คําใช้เข้าคู่กับคํา ทุกเมื่อ เป็น ทุกเมื่อเชื่อวัน หมายความว่า ทุกขณะ, ทุกวัน, เสมอ. (ม. คําหลวง นครกัณฑ์).
  5. เชื่อใจ : ก. ไว้ใจ.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : เชื่อลมปาก, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : เชื่อลมปาก, more than 5 found, display 1-5
  1. เชื่อดายไป : เชื่อเรื่อยไป, เชื่อดะไป โดยไม่นึกถึงเหตุผล
  2. กัมมัสสกตาสัทธา : ความเชื่อว่า สัตว์มีกรรมเป็นของตัว ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว ดู สัทธา
  3. กาลามสูตร : สูตรหนึ่งในคัมภีร์ติกนิบาต อังคุตตรนิกาย พระพุทธเจ้าตรัสสอนชนชาวกาลามะแห่งเกสปุตตนิคมใน แคว้นโกศล ไม่ให้เชื่อถืองมงายไร้เหตุผล ตามหลัก ๑๐ ข้อ คือ อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการฟังตามกันมา, ด้วยการถือสืบๆ กันมา, ด้วยการเล่าลือ, ด้วยการอ้างตำราหรือคัมภีร์, ด้วยตรรก, ด้วยการอนุมาน, ด้วยการคิดตรองตามแนวเหตุผล, เพราะเข้ากันได้กับทฤษฎีของตน, เพราะมองเห็นรูปลักษณะน่าเชื่อ, เพราะนับถือว่าท่านสมณะนี้ เป็นครูของเรา; ต่อเมื่อใด พิจารณาเห็นด้วยปัญญาว่า ธรรมเหล่านั้นเป็นอกุศล เป็นกุศล มีโทษ ไม่มีโทษ เป็นต้นแล้ว จึงควรละหรือถือปฏิบัติตามนั้น เรียกอีกอย่างว่าเกสปุตติยสูตร หรือเกสปุตตสูตร.
  4. งมงาย : ไม่รู้เท่า, ไม่เข้าใจ, เซ่อเซอะ, หลงเชื่อโดยไม่มีเหตุผล หรือโดยไม่ยอมรับฟังผู้อื่น
  5. จริต : ความประพฤติ, พื้นนิสัย หรือพื้นเพแห่งจิตของคนทั้งหลายที่หนักไปด้านใดด้านหนึ่ง แตกต่างกันไปคือ ๑.ราคจริต ผู้มีจาคะเป็นความประพฤติปกติ (หนักไปทางรักสวยรักงาม มักติดใจ) ๒.โทสจริต ผู้มีโทสะเป็นความประพฤติปกติ (หนักไปทางใจร้อนขี้หงุดหงิด) ๓.โมหจริต ผู้มีโมหะเป็นความประพฤติปกติ (หนักไปทางเหงาซึม งมงาย) ๔.สัทธาจริต ผู้มีศรัทธาเป็นความประพฤติปกติ (หนักไปทางน้อมใจเชื่อ) ๕.พุทธิจริต ผู้มีความรู้เป็นความประพฤติปกติ (หนักไปทางคิดพิจารณา) ๖.วิตกจริต ผู้มีวิตกเป็นความประพฤติปกติ (หนักไปทางคิดจับจดฟุ้งซ่าน)
  6. Budhism Thai-Thai Dict : เชื่อลมปาก, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : เชื่อลมปาก, more than 5 found, display 1-5
  1. ปรามสน : (นปุ.) การจับต้อง, การลูบคลำ, การยึดมั่น, การยึดถือ, การถือมั่น ( หนักไปในทางเชื่อความขลัง เชื่อ บันดาลไม่เชื่อกรรม ), ความจับต้อง, ฯลฯ. ป อาปุพฺโพ, มสฺ อามสเน, ยุ, รฺ อาคโม.
  2. ปรามาส : (ปุ.) การจับต้อง, การลูบคลำ, การยึดมั่น, การยึดถือ, การถือมั่น ( หนักไปในทางเชื่อความขลัง เชื่อ บันดาลไม่เชื่อกรรม ), ความจับต้อง, ฯลฯ. ป อาปุพฺโพ, มสฺ อามสเน, ยุ, รฺ อาคโม.
  3. กมฺมวาที : (วิ.) ผู้กล่าวซึ่งกรรมโดยปกติ, ผู้มี ปกติกล่าวว่ากรรม, ผู้มีปกติกล่าวว่ากรรม อันสัตว์ทำแล้วชื่อว่าเป็นอันทำ, ผู้มีปกติ กล่าวว่ากรรมให้ผล, กรรมวาที (ผู้เชื่อว่า การทำมีผลที่ตนจะต้องได้รับ ผู้เชื่อว่าผล ของกรรมมีอยู่)
  4. กมฺมสฺสกตาสทฺธา : (อิต.) ความเชื่อว่าสัตว์มี กรรมเป็นของตน. ตา ปัจ. สกัด.
  5. กินฺนร : (ปุ.) คนหรือ. กึ+นร. คนน่าเกลียด วิ. กุจฺฉิโต นโร. กินนโร ลบ จฺฉิต เหลือ กุ แปลง อุ เป็น อิ ลงนิคคหิตอาคมแล้ว แปลงเป็น นฺ. สัตว์เหมือนคน, สัตว์คล้าย คน, กินนร. วิ. กิ สทิโส นเรนาติ กินฺนโร (เหมือนคน). กินนร เชื่อกันว่าเป็นอมนุษย์พวก หนึ่ง อยู่ในป่าหิมพานต์ มีสองพวก พวกหนึ่งเป็นครึ่งคนครึ่งนกท่อนบนเป็นคน ท่อนล่างเป็นนก อีกพวกหนึ่งเหมือนคน จะไปไหนมาไหนก็ใส่ปีก ใส่หางบินไป. ส. กินฺนร.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : เชื่อลมปาก, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : เชื่อลมปาก, 3 found, display 1-3
  1. เชื่อ : สทฺทหิตฺวา, ปฏิสญฺจิกขนฺต, ปสาเทตฺวา, ขโม, สทฺเทตวา
  2. ความเชื่อว่า.. : อภินิเวสธมฺโม
  3. ไม่เชื่อฟังใคร : อญฺเญสํ โสตพฺพํ น มญฺญติ

(0.2271 sec)