Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นหนึ่งเดียว, เดียว, หนึ่ง, เป็น .

Eng-Thai Lexitron Dict : เป็นหนึ่งเดียว, more than 7 found, display 1-7
  1. be at one : (IDM) ; เป็นหนึ่งเดียว ; Related:เข้ากันได้, รวมกันเป็นหนึ่ง
  2. unique : (ADJ) ; ซึ่งเป็นหนึ่งเดียว ; Related:เป็นพิเศษ ; Syn:unusual ; Ant:ordinary
  3. as one : (IDM) ; (กลุ่ม) รวมเป็นหนึ่งเดียว
  4. coalition : (N) ; การรวมเป็นหนึ่งเดียว ; Related:การร่วมกัน, การร่วมมือกัน, การประสานกัน, สัมพันธมิตร ; Syn:partnership, league, cooperation, combination, solidification
  5. keep together : (PHRV) ; รวมตัวกันเป็นหนึ่งเดียว ; Related:ร่วมกัน, อยู่ร่วมกัน ; Syn:stick together
  6. oneness : (N) ; ความเป็นหนึ่งเดียว ; Syn:integrity, singleness
  7. put together : (PHRV) ; รวมกันเป็นหนึ่งเดียว
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : เป็นหนึ่งเดียว, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : เป็นหนึ่งเดียว, more than 7 found, display 1-7
  1. เป็นหนึ่งเดียว : (ADV) ; unitedly ; Syn:เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ; Ant:แตกแยก ; Def:อย่างสามัคคีกลมเกลียว ; Samp:ฟุตบอลโลกครั้งนี้จะรวมเอาความตื่นเต้นเร้าใจของคนทั่วโลก มาไว้ด้วยกันเป็นหนึ่งเดียว
  2. เป็นหนึ่งเดียว : (V) ; unite ; Related:join together ; Syn:เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ; Ant:แตกแยก ; Def:สามัคคีกลมเกลียว ; Samp:ผมต้องทำทุกอย่างเพื่อให้พนักงาน 2 กลุ่มนี้เป็นหนึ่งเดียวกันให้ได้
  3. ความเป็นอันหนึ่งอันเดียว : (N) ; unity ; Related:harmony, concord, uniformity ; Syn:ความสามัคคี, ความกลมเกลียว, ความสามัคคีปรองดอง ; Ant:ความแตกแยก ; Samp:ทีมวอลเลย์บอลของเราชนะเพราะเรามีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
  4. เดียว : (ADJ) ; only ; Related:sole, one only, single ; Syn:เดี่ยว, โดด, หนึ่งเดียว, โทน ; Def:หนึ่งเท่านั้นไม่มีอื่นอีก ; Samp:มีนักบินเพียงคนเดียวที่รอดชีวิต
  5. เป็นน้ำหนึ่งอันเดียวกัน : (ADV) ; as a team ; Related:with one heart and one mind, with one idea and will ; Syn:เป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน ; Def:สมัครสมานสามัคคีเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ; Samp:พวกเขาทำงานเป็นน้ำหนึ่งอันเดียวกัน
  6. หนึ่งเดียว : (ADJ) ; single ; Related:sole, only ; Syn:เดียว, อันเดียว, อย่างเดียว, เพียงอย่างเดียว ; Def:หนึ่งเท่านั้น ไม่มีอื่นอีก ; Samp:รัฐบาลพม่าออกมาแก้ข่าวว่า เหตุผลหนึ่งเดียวที่แรงงานพม่าต้องออกมาทำงานต่างแดน เป็นเพราะว่าต้องการรายได้เท่านั้น
  7. เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน : (V) ; be united ; Syn:เป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน ; Ant:แตกแยก ; Def:พร้อมเพรียงกัน, เป็นไปในทางเดียวกัน ; Samp:ถ้าคนไทยเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ เชื่อว่าไม่นานสถานการณ์ก็คงจะดีขึ้น
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : เป็นหนึ่งเดียว, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : เป็นหนึ่งเดียว, more than 5 found, display 1-5
  1. หนึ่ง : น. ตัวเลขตัวแรกของจำนวนนับ; จำนวนเดียว, คนเดียว, สิ่งเดียว, เช่น หนึ่งในดวงใจ. ว. เดี่ยว; เป็นเอก, เป็นเลิศ, เช่น เพื่อน ๆ ยกให้เขาเป็น หนึ่งในรุ่น.
  2. เดียว : ว. หนึ่งเท่านั้นไม่มีอื่นอีก เช่น คนเดียว พันเดียว นิดเดียว.
  3. เป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน : ว. พร้อมเพรียงกัน, พร้อมใจกัน.
  4. กระติ๊ด ๒, กระติ๊ดเดียว, กระติ๊ดหนึ่ง : (ปาก) ว. เล็กน้อย, เล็กนิดเดียว, เช่น เสื้อตัวนี้ติดกระดุมเม็ด กระติ๊ดเดียว ขอเกลือสักกระติ๊ดหนึ่ง, ติ๊ดเดียว หรือ ติ๊ดหนึ่ง ก็ว่า.
  5. คำกร่อน : (ไว) น. คำที่ลดเสียงสระและเสียงสะกด (ถ้ามี) ให้เป็นเสียง อะ โดยยังคงเสียงพยัญชนะต้นเสียงเดี่ยวหรือเสียงพยัญชนะต้นที่เป็น อักษรควบอักษรกล้ำไว้ มักจะเกิดในคำสองพยางค์ที่พยางค์แรกออก เสียงเบา เช่น หมากม่วง เป็น มะม่วง ต้นเคียน เป็น ตะเคียน อันหนึ่ง เป็น อนึ่ง แจ้นแจ้น เป็น จะแจ้น ขวักไขว่ เป็น ขวะไขว่ โครมโครม เป็น คระ โครม, และมีปรากฏในคำพยางค์เดียวด้วย เช่น เสีย เป็น ซะ แล้ว เป็น ละ, แต่บางกรณีก็ลดเสียงสระและเสียงสะกด (ถ้ามี) ให้เป็น เสียง เออะ หรือ อึ เช่น เถิด เป็น เถอะ หรือ เป็น รึ.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : เป็นหนึ่งเดียว, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : เป็นหนึ่งเดียว, more than 5 found, display 1-5
  1. จักกวัตติสูตร : ชื่อสูตรที่ ๓ แห่งทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค พระสุตตันตปิฎก พระพุทธเจ้าตรัสสอนภิกษุทั้งหลายให้พึ่งตน คือพึ่งธรรม ด้วยการเจริญสติปัฏฐาน ๔ ซึ่งจะทำให้ได้ชื่อว่าเป็นผู้ดำเนินอยู่ในแดนของตนเองที่สืบมาแต่บิดา จะมีแต่ความดีงามเจริญขึ้นไม่เปิดช่องให้แก่มาร เช่นเดียวกับพระเจ้าจักรพรรดิที่ทรงประพฤติตามหลักจักรวรรดิวัตร อันสืบกันมาแต่บรรพชนของพระองค์ ย่อมทำให้จักรรัตนะบังเกิดขึ้นมาเอง, จักรวรรดิวัตร นั้นมี ๔ ข้อใหญ่ ใจความว่า ๑.พระเจ้าจักรพรรดิเป็นธรรมาธิปไตย และจัดการคุ้มครองป้องกันโดยชอบธรรม แก่ชนทุกหมู่เหล่าในแผ่นดิน ตลอดไปถึงสัตว์ที่ควรสงวนพันธุ์ทั้งหลาย ๒.มิให้มีการอันอธรรมเกิดขึ้นในแผ่นดิน ๓.ปันทรัพย์เฉลี่ยให้แก่ผู้ไร้ทรัพย์ ๔.ปรึกษาสอบถามการดีชั่ว ข้อควรและไม่ควรประพฤติ กะสมณพราหมณ์ ผู้ประพฤติดี ปฏิบัติชอบ อยู่เสมอ; จักรวรรดิวัตร ๔ ข้อนี้ บางทีจัดเป็น ๕ โดยแยกข้อ ๑.เป็น ๒ ข้อ คือ เป็นธรรมาธิปไตย ถือธรรมเป็นใหญ่อย่างหนึ่ง กับจัดการคุ้มครองป้องกันอันชอบธรรม อย่างหนึ่ง, นอกจากนั้น สมัยต่อมา อรรถกถาจัดแบ่งซอยออกไป และเพิ่มเข้ามาอีก รวมเป็น ๑๒ ข้อ เรียกว่า จักรวรรดิวัตร ๑๒ ; พระสูตรนี้ถือว่าเป็นคำสอนแสดงหลักวิวัฒนาการของสังคมตามแนวจริยธรรม กล่าวถึงหลักการปกครอง และหลักความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจกับจริยธรรม; เรื่องพระศรีอารยเมตไตรย ก็มีต้นเค้ามาจากพระสูตรนี้
  2. เก็บวัตร : โวหารเรียกวินัยกรรมเกี่ยวกับวุฏฐานวิธีอย่างหนึ่ง คือ เมื่อภิกษุต้องครุกาบัติขั้นสังฆาทิเสสกำลังอยู่ปริวาส ยังไม่ครบเวลาที่ปกปิดอาบัติไว้ก็ดี กำลังประพฤติมานัตยังไม่ครบ ๖ ราตรีก็ดี เมื่อมีเหตุอันสมควร ก็ไม่ต้องประพฤติติดต่อกันเป็นรวดเดียว พึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ทำผ้าห่มเฉวียงบ่า นั่งกระหย่ง ประณมมือ ถ้าเก็บปริวาสพึงกล่าวว่า ปริวาสํ นิกฺขิปามิ แปลว่า ข้าพเจ้าเก็บปริวาส หรือว่า วตฺตํ นิกฺขิปามิ แปลว่า ข้าพเจ้าเก็บวัตร ว่าคำใดคำหนึ่ง ก็เป็นอันพักปริวาส ; ถ้าเก็บมานัต พึงกล่าวว่า มานตฺตํ นิกฺขิปามิ แปลว่า ข้าพเจ้าเก็บมานัต หรือว่า วตฺตํ นิกฺขิปามิ ข้าพเจ้าเก็บวัตร ดังนี้ ว่าคำใดคำหนึ่งก็เป็นอันพักมานัต ต่อไปเมื่อมีโอกาสก็ให้สมาทานวัตรใหม่ได้อีก
  3. จีวรกาลสมัย : สมัยหรือคราวที่เป็นฤดูถวายจีวร; งวดหนึ่ง สำหรับภิกษุที่มิได้กรานกฐิน ตั้งแต่แรมค่ำหนึ่งเดือน ๑๑ ถึง เพ็ญเดือน ๑๒ (คือเดือนเดียว), อีกงวดหนึ่ง สำหรับภิกษุที่ได้กรานกฐินแล้ว ตั้งแต่แรมค่ำหนึ่งเดือน ๑๑ ไปจนหมดฤดูหนาวคือถึงขึ้น ๑๕ ค่ำเดือน ๔ (รวม ๕ เดือน)
  4. ปรมาตมัน : อาตมันสูงสุด หรออัตตาสูงสุด (บรมอาตมัน หรือ บรมอัตตา) เป็นสภาวะแท้จริง และเป็นจุดหมายสูงสุดตามหลักความเชื่อของศาสนาฮินดู (เดิมคือศาสนาพราหมณ์) ซึ่งถือว่า ในบุคคลแต่ละคนนี้ มีอาตมัน คือ อัตตาหรือตัวตน สิงสู่อยู่ครอง เป็นสภาวะเที่ยงแท้ถาวรเป็นผู้คิดผู้นึก ผู้เสวยเวทนา เป็นต้น ซึ่งเป็นส่วนย่อยที่แบ่งภาคออกมาจากปรมาตมันนั้นเอง เมื่อคนตาย อาตมันนี้ออกจากร่างไป สิงอยู่ในร่างอื่นต่อไป เหมือนถอดเสื้อผ้าเก่าสวมเสื้อผ้าใหม่ หรือออกจากเรือนเก่าไปอยู่ในเรือนใหม่ ได้เสวยสุขหรือทุกข์ เป็นต้น สุดแต่กรรมที่ได้ทำไว้ เวียนว่ายตายเกิดเรื่อยไป จนกว่าจะตระหนักรู้ว่าตนเองเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับปรมาตมัน และเข้าถึงความบริสุทธิ์จากบาปโดยสิ้นเชิง จึงจะได้กลับเข้ารวมกับปรมาตมันดังเดิม ไม่เวียนตายเวียนเกิดอีกต่อไป, ปรมาตมันนี้ ก็คือ พรหม หรือ พรหมัน นั่นเอง
  5. พหุพจน์ : คำที่กล่าวถึงสิ่งมากกว่าหนึ่ง คือตั้งแต่ ๒ สิ่งขึ้นไป, เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์บาลีและไทย คู่กับเอกพจน์ ซึ่งกล่าวถึงสิ่งเดียว; แต่ในไวยากรณ์สันสกฤต จำนวน ๒ เป็นทวิพจน์หรือทวีวจนะ จำนวน ๓ ขึ้นไปจึงจะเป็นพหุพจน์
  6. Budhism Thai-Thai Dict : เป็นหนึ่งเดียว, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นหนึ่งเดียว, more than 5 found, display 1-5
  1. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  2. มุหุตฺต : (ปุ.) กาลขณะหนึ่ง, กาลครู่หนึ่ง, เวลาขณะหนึ่ง, เวลาครู่หนึ่ง, ครู่ (ประเดี๋ยวเดียว), ครู่หนึ่ง. หุจฺฉฺ โกฏิเลฺยฺ, โต. มุอาคมต้นธาตุ ลบ จฺฉฺ แปลง ต เป็น ตฺต.
  3. สมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่น, ความตั้งใจมั่น, ความตั้งมั่นด้วยดีแห่งจิต, ความตั้งมั่นด้วยดีในจิตในอารมณ์เดียว, ความไม่ส่ายไปแห่งจิต, ความสำรวมใจให้แน่วแน่, การตั้งจิตไว้ด้วยดีในอารมณ์เดียว, สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ความที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ความที่จิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งเฉพาะ ความที่จิตเพ่งอยู่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ. วิ. เอกาลมฺพเน สํ สุฏฐุ อาธานํ สมาธิ. สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. รูปฯ ๕๘๒ วิ. สมฺมา สมํ วา จิตฺตํ อาทธาตีติ สมาธิ. สมาธิใช้เป็นกุศลธรรมเป็นส่วนมากแต่ในที่บางแห่งท่านต้องการให้ชัดจึงเติมศัพท์ที่บ่งชัดไว้ข้างหน้าฝ่ายดี ท่านเติม สมฺมา เป็น สมฺมาสมาธิ ฝ่ายชั่ว ท่านเติม มิจฺฉา เป็นมิจฺฉาสมาธิ ดูคำ สติ ประกอบ. ส. สมาธิ.
  4. เอกมนฺต : (ปุ. นปุ.) ส่วนเดียว, ส่วนข้างเดียว, ที่สุดส่วนข้างหนึ่ง, ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง, ที่ สมควร. มงคลทีปนี เป็น นปุ.
  5. เอกจฺจ : (วิ.) หนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, บางคน, บางพวก, บางอย่าง, วังเวง, ไม่มีเพื่อน, โดดเดี่ยว, ฯลฯ. เอโก เอว เอกจฺโจ. เอก ศัพท์ จฺจ ปัจ.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นหนึ่งเดียว, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : เป็นหนึ่งเดียว, more than 5 found, display 1-5
  1. เป็น, มี : โหติ, อตฺถิ, ภวติ
  2. เป็นเครื่องหมาย : ฐานีย, นิมิตฺตภูโต
  3. เป็นเครื่องห้าม : ปฏิปกฺขภูตา โหนฺติ, ปฏิฆาตภูตา
  4. เป็นจอมทัพ : วรสูรโยโธ
  5. เป็นเจ้า, เป็นใหญ่ : ปติ, สามิ, อิสฺสร, อภิภู
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : เป็นหนึ่งเดียว, more results...

(0.6219 sec)