Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เสื่อมเสีย, เสื่อม, เสีย , then สย, สอม, สอมสย, เสีย, เสื่อม, เสื่อมเสีย .

Eng-Thai Lexitron Dict : เสื่อมเสีย, more than 7 found, display 1-7
  1. be beneath someone's dignity : (IDM) ; เสื่อมเสีย ; Related:ไม่ให้เกียรติ ; Syn:fall beneath
  2. rust : (VI) ; เสื่อม ; Related:เสียไป ; Syn:decompose, deteriorate
  3. pass away : (PHRV) ; เสีย ; Related:จากไป (ตาย), เสียชีวิต ; Syn:conk out, kick off, pass on
  4. all over the shop 1 : (SL) ; เสีย ; Related:ใช้การไม่ได้, ยุ่งเหยิง
  5. go on 2 : (PHRV) ; เสีย ; Related:ไม่ทำตาม ; Syn:be on
  6. knacked 2 : (SL) ; เสีย ; Syn:knackered
  7. knackered 2 : (SL) ; เสีย ; Syn:knacked
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : เสื่อมเสีย, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : เสื่อมเสีย, more than 7 found, display 1-7
  1. เสื่อมเสีย : (V) ; spoil one's reputation ; Related:damage one's name ; Syn:เสียหาย ; Def:เสียชื่อเสียง, เสียเกียรติยศ, เสียศักดิ์ศรี ; Samp:ทุกวันนี้มีพระภิกษุจำนวนมากประพฤติผิดพระธรรมวินัย ทำให้สถาบันศาสนาเสื่อมเสียเป็นอย่างมาก
  2. เสียคน : (V) ; degenerate ; Related:deteriorate ; Syn:เสื่อมเสีย ; Def:กลายเป็นคนไม่ดี ; Samp:ครอบครัวที่ปล่อยให้ลูกใช้จ่ายฟุ่มเฟือยเกินไป อาจจะเสียคนได้
  3. เสื่อม : (V) ; deteriorate ; Related:decline ; Def:เสียไป, สิ้นไป ; Samp:ถ้าหากข้าราชการคอร์รัปชั่น ประชาชนอาจจะเสื่อมศรัทธา และไม่อยากเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย
  4. เสื่อม : (V) ; deteriorate ; Related:slowly disappear ; Syn:เลือน ; Def:ค่อยหมดไป ; Samp:ความจำระยะสั้นสามารถเสื่อมได้ เมื่อถูกกระทบรบกวนด้วยกิจกรรมใหม่ๆ
  5. เสื่อม : (V) ; negate ; Related:nullify ; Def:ถอยความขลัง ; Samp:ผู้ที่ถูกมนตร์สะกด หากได้รดน้ำมนตร์แล้วอาจจะทำให้มนตร์นั้นเสื่อมไปได้
  6. เสื่อม : (V) ; depreciate ; Related:lessen, decrease, belittle, grow worse ; Syn:น้อยลง, ลด, ลดลง, ถอยลง ; Def:น้อยลง, หย่อนลง ; Samp:การเก็บสต๊อคนานเกินไป อาจทำให้สินค้าเสื่อมคุณภาพได้
  7. เสื่อม : (V) ; deteriorate ; Related:weaken ; Syn:ทรุดโทรม, ด้อยลง ; Def:โทรมลง ; Samp:ประเทศชาติของเราจะเจริญหรือเสื่อมลงนั้น ย่อมขึ้นอยู่กับการศึกษาของประชาชน
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : เสื่อมเสีย, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : เสื่อมเสีย, more than 5 found, display 1-5
  1. บังวาย : ก. เสื่อมเสีย, เสียหาย, เช่น ทํากลบังวาย. (สามดวง), บังวายสวาท. (กฤษณา).
  2. กุมภา : (กลอน) น. จระเข้ เช่น ตัวกูหลงอยู่ด้วยกุมภา จะเสื่อมเสียวิชาที่เรียนรู้. (ไกรทอง).
  3. ข่มขู่ : ก. ทําให้กลัว, ทําให้เสียขวัญ; (กฎ) ทําให้ผู้อื่นต้องกลัวว่าจะเกิด ความเสียหายเป็นภัยแก่ตนเอง แก่สกุลแห่งตน หรือแก่ทรัพย์สินของตน เป็นภัยอันใกล้จะถึงและอย่างน้อยร้ายแรงถึงขนาดที่จะพึงกลัว ตาม ประมวลกฎหมายแพ่ง การข่มขู่อาจทำให้นิติกรรมเสื่อมเสียได้.
  4. คาว : น. กลิ่นเหม็นอย่างหนึ่งอย่างกลิ่นปลาสดเนื้อสด; โดยปริยายหมายถึง ความเสื่อมเสีย ความมัวหมอง มลทิน เช่น ราคีคาว คนนั้นยังมีคาว; เรียกกับข้าวว่า ของคาว, คู่กับ ขนม ว่า ของหวาน.
  5. ชำรุด : ก. เสื่อมจากสภาพเดิมจนถึงบกพร่องเสียหายหรือบุบ สลายไป เช่น หนังสือชํารุด เกวียนชํารุด.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : เสื่อมเสีย, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : เสื่อมเสีย, more than 5 found, display 1-5
  1. ปลิโพธ : เครื่องผูกพันหรือหน่วงเหนี่ยวเป็นเหตุให้ใจพระวักพะวนห่วงกังวล, เหตุกังวล, ข้อติดข้อง; ปลิโพธที่ผู้จะเจริญกรรมฐานพึงตัดเสียให้ได้ เพื่อให้เกิดความปลอดโปร่งพร้อมที่จะเจริญกรรมฐานให้ก้าวหน้าไปได้ดี มี ๑๐ อย่าง คือ ๑.อาวาสปลิโพธ ความกังวลเกี่ยวกับวัดหรือที่อยู่ ๒.กุลปริโพธ ความกังวลเกี่ยวกับตระกูลญาติหรืออุปัฏฐาก ๓.ลาภปลิโพธ ความกังวลเกี่ยวกับลาภ ๔.คณปลิโพธ ความกังวลเกี่ยวกับคณะศิษย์หรือหมู่ชนที่ตนต้องรับผิดชอบ ๕.กรรมปริโพธ ความกังวลเกี่ยวกับการงาน เช่น การก่อสร้าง ๖.อัทธานปลิโพธ ความกังวลเกี่ยวกับการเดินทางไกลเนื่องด้วยกิจธุระ ๗.ญาติปริโพธ ความกังวลเกี่ยวกับญาติหรือคนใกล้ชิดที่จะต้องเป็นห่วงซึ่งกำลังเจ็บป่วยเป็นต้น ๘.อาพาธปริโพธ ความกังวลเกี่ยวกับความเจ็บไข้ของตนเอง ๙.คันถปริโพธ ความกังวลเกี่ยวกับการศึกษาเล่าเรียน ๑๐.อิทธิปลิโพธ ความกังวลเกี่ยวกับฤทธิ์ของปุถุชนที่จะต้องคอยรักษาไม่ให้เสื่อม (ข้อท้ายนี้เป็นปลิโพธสำหรับผู้จะเจริญวิปัสสนาเท่านั้น)
  2. สัทธิวิหาริกวัตร : ข้อควรปฏิบัติต่อสัทธิวิหาริก, หน้าที่อันอุปัชฌาย์จะพึงกระทำแก่สัทธิวิหาริก คือ ๑.เอาธุระในการศึกษา ๒.สงเคราะห์ด้วยบาตรจีวร และบริขารอื่น ๆ ๓.ขวนขวายป้องกัน หรือ ระงับความเสื่อมเสีย เช่นระงับความคิดจะสึก เปลื้องความเห็นผิด ฯลฯ ๔.พยาบาลเมื่ออาพาธ เทียบ อุปัชฌายวัตร
  3. สุภัททะ วุฒบรรพชิต : “พระสุภัททะผู้บวชเมื่อแก่” ซึ่งเป็นต้นเหตุแห่งการปรารภที่จะทำสังคายนาครั้งที่ ๑ ก่อนบวช เป็นช่างตัดผมในเมืองอาตุมา มีบุตรชาย ๒ คน เมื่อบวชแล้วคราวหนึ่งได้ข่าวว่าพระพุทธเจ้าพร้อมด้วยสงฆ์หมู่ใหญ่จะเสด็จมายังเมืองอาตุมา จึงให้บุตรทั้ง ๒ เอาเครื่องมือตัดผมออกไปเที่ยวขอตัดผมตามบ้านเรือนทุกแห่ง แลกเอาเครื่องปรุงยาคูมาได้มากมาย แล้วบัญชาการให้ผู้คนจัดเตรียมข้าวยาคูไว้เป็นอันมาก เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จมาถึง ก็นำเอาข้าวยาคูนั้นเข้าไปถวาย พระพุทธเจ้าตรัสถาม ทรงทราบความว่าพระสุภัททะได้ข้าวนั้นมาอย่างไรแล้ว ไม่ทรงรับและทรงติเตียน แล้วทรงบัญญัติสิกขาบท ๒ ข้อ คือ บรรพชิตไม่พึงชักชวนคนทำในสิ่งที่เป็นอกัปปิยะ และภิกษุผู้เคยเป็นช่างกัลบกไม่พึงเก็บรักษาเครื่องตัดโกนผมไว้ประจำตัว จากการที่ได้ถูกติเตียนและเสียของเสียหน้าเสียใจ ในเหตุการณ์ครั้งนั้น พระสุภัททะก็ได้ผูกอาฆาตไว้ ต่อมา เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพานแล้วได้ ๗ วัน พระสุภัททะร่วมอยู่ในคณะของพระมหากัสสปเถระ ซึ่งกำลังเดินทางจากเมืองปาวาสู่เมืองกุสินารา ระหว่างทางนั้น คณะได้ทราบข่าวพุทธปรินิพพานจากอาชีวกผู้หนึ่ง ภิกษุทั้งหลายที่ยังไม่สิ้นราคะ (คือพระปุถชน โสดาบัน และสกทาคามี) พากันร้องไห้คร่ำครวญเป็นอันมาก ในขณะนั้นเอง พระสุภัททะวุฒบรรพชิต ก็ร้องห้ามขึ้นว่า “อย่าเลย ท่านผู้มีอายุ พวกท่านอย่าเศร้าโศก อย่าร่ำไห้ไปเลย พวกเราพ้นดีแล้ว พระมหาสมณะนั้นคอยเบียดเบียนพวกเราว่าสิ่งนี้ควรแก่เธอ สิ่งนี้ไม่ควรแก่เธอ บัดนี้พวกเราปรารถนาสิ่งใด ก็จักกระทำสิ่งนั้น” พระมหากัสสปเถระได้ฟังแล้วเกิดธรรมสังเวช ดำริว่า พระพุทธเจ้าปรินิพพานเพียง ๗ วัน ก็ยังเกิดเสี้ยนหนามขึ้นแล้วในพระศาสนา หากต่อไปคนชั่วได้พวกพ้องมีกำลังเติบกล้าขึ้น ก็จะทำพระศาสนาให้เสื่อมถอย ดังนั้น หลังจากเสร็จงานถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระแล้ว ท่านจึงได้ยกถ้อยคำของสุภัททะวุฒบรรพชิต นี้ขึ้นเป็นข้อปรารภ ชักชวนพระเถระทั้งหลายร่วมกันทำสังคายนาครั้งแรก
  4. อารักขสัมปทา : ถึงพร้อมด้วยการรักษา คือรักษาทรัพย์ที่แสดงหามาได้ ด้วยความหมั่น ไม่ให้เป็นอันตรายและรักษาการงานไม่ให้เสื่อมเสียไป (ข้อ ๒ ในทิฏฐธัมมิกัตถฯ)
  5. อุปัชฌายวัตร : ธรรมเนียมหรือข้อปฏิบัติที่สัทธิวิหาริกพึงกระทำต่ออุปัชฌาย์ของตน, หน้าที่ต่ออุปัชฌาย์ โดยย่อคือ เอาใจใส่ปรนนิบัติรับใช้ คอยศึกษาเล่าเรียนจากท่าน ขวนขวายป้องกันหรือระงับความเสื่อมเสีย เช่น ความคิดจะสึก ความเห็นผิด เป็นต้น รักษาน้ำใจของท่าน มีความเคารพ จะไปไหนบอกลา ไม่เที่ยวตามอำเภอใจ และเอาใจใส่พยาบาลเมื่อท่านอาพาธ เทียบ สัทธิวิหาริกวัตร
  6. Budhism Thai-Thai Dict : เสื่อมเสีย, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : เสื่อมเสีย, more than 5 found, display 1-5
  1. จกฺขุทุพฺพล : (วิ.) ผู้มีจักษุมีกำลังอันโทษประ ทุษร้ายแล้ว, ผู้มีตาอ่อนแอ (ตาเสื่อมตา เสีย).
  2. ปริหายติ : ก. เสื่อม, เสียหาย
  3. เจโตขิล, - ขีล : ป. ตะปูตรึงใจ, ความเคลือบแคลงดุจเสี้ยนแทงใจ, ความกระด้างแห่งจิตใจ, ความเสื่อมเสียทางใจ
  4. เจโตปโทส : ป. ความเสื่อมเสียแห่งใจ, ความมัวหมองแห่งจิต, ความชั่วทางใจ
  5. ปริหาเปติ : ก. ให้เสื่อม, ให้เสียหาย
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : เสื่อมเสีย, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : เสื่อมเสีย, 7 found, display 1-7
  1. เสียราชธรรม : ราชธมฺเม โกปยมาโน
  2. เสียสละ : ปริจฺจชิ, วิสฺสชฺชิ, โวสฺสคฺครโต, จาโค
  3. เสื่อมรอบแล้ว : ปริหีโน
  4. เสื่อมลง : ปริหานิ
  5. เสื่อมลาภ : อลาโภ อุปฺปนฺโน
  6. ความเสื่อม : อปาโย
  7. อิสรภาพเสียไป : สฺสรภาโว วสํคโต

(0.2592 sec)