Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เหน็บ , then หนบ, เหน็บ .

Eng-Thai Lexitron Dict : เหน็บ, 12 found, display 1-12
  1. pins and needles : (IDM) ; เหน็บชา
  2. cutting : (ADJ) ; หนาวเหน็บ ; Syn:chilling
  3. paresis : (N) ; ภาวะเหน็บชาเฉพาะส่วน ; Related:ภาวะอัมพาตบางส่วน ; Syn:partial paralysis
  4. paretic : (N) ; ผู้เป็นเหน็บชา ; Related:ผู้เป็นอัมพาตบางส่วน
  5. piercingly : (ADV) ; อย่างหนาวเหน็บ ; Related:อย่างหนาวมาก ; Syn:bitterly
  6. pins and needles : (N) ; ความรู้สึกเหน็บชา
  7. suppository : (N) ; ยาเหน็บช่องคลอดหรือทวารหนัก
  8. peck 2 : (VT) ; ถากถาง ; Related:เหน็บแหนม ; Syn:nag
  9. jeer : (VI) ; เย้ยหยัน ; Related:เยาะเย้ย, ถากถาง, เสียดสี, เหน็บแหนม ; Syn:scoff, gibe, ridicule ; Ant:praise, applaud
  10. piercing : (ADJ) ; เย็นเยียบ ; Related:หนาวมากๆ, ซึ่งหนาวเหน็บ
  11. vitamin B 1 : (N) ; วิตามินบีหนึ่ง พบในเมล็ดพืช ข้าว ; Related:ป้องกันโรคเหน็บชาและโรคของระบบประสาท ; Syn:thiamine

Thai-Eng Lexitron Dict : เหน็บ, more than 7 found, display 1-7
  1. เหน็บ : (V) ; carp at ; Related:talk insinuatingly ; Syn:เหน็บแนม, แคะไค้, เสียดสี ; Def:พูดสะกิดถึงส่วนที่ไม่ดี ; Samp:เมื่อได้ทีเขาจึงถือโอกาสเหน็บเธอ
  2. เหน็บ : (V) ; insert ; Related:stick, tuck, attach ; Syn:เสียบ ; Def:สอดไว้ในที่บังคับ ; Samp:เงินชายร่างกายกำยำเหน็บผ้าเช็ดหน้าสีฟ้าตรงมุมกระเป๋าบน
  3. เหน็บ : (N) ; beriberi ; Def:อาการชาและเจ็บแปลบปลาบตามแขนขาเป็นต้น เกิดจากหลอดเลือดและเส้นประสาท หรืออย่างใดอย่างหนึ่งในบริเวณนั้นถูกกดทับระยะหนึ่ง
  4. ทัด : (V) ; wear ; Related:place behind one's ear ; Syn:เหน็บ ; Def:เอาสิ่งของหรือดอกไม้เหน็บหูตรงบริเวณที่เรียกว่าทัดดอกไม้ ; Samp:ผู้หญิงสมัยโบราณมักทัดดอกไม้ไว้ข้างหู
  5. เสียบ : (V) ; insert ; Related:put in ; Syn:เหน็บ ; Def:สอดไว้ในที่บังคับ ; Samp:เขาเสียบปากกาที่ขอบกระเป๋าเสื้อเชิ๊ต
  6. หนาวเหน็บ : (V) ; shiver ; Related:tremble ; Syn:เหน็บหนาว ; Ant:ร้อนอบอ้าว, ร้อน ; Def:หนาวเย็นจัดจนมือเท้าชา ; Samp:ชาวบ้านบางคนนั่งยองๆ อยู่ข้างกองไฟ เพื่อให้หายหนาวเหน็บ
  7. กระเบนเหน็บ : (N) ; lumbar portion of the spine ; Related:small of the back ; Def:ส่วนของร่างกายด้านหลังระดับบั้นเอว ตรงที่เหน็บชายกระเบน ; Samp:เธอเจ็บตรงบริเวณกระเบนเหน็บ
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : เหน็บ, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : เหน็บ, more than 5 found, display 1-5
  1. เหน็บ : น. ชื่อมีดขนาดกลาง ใบมีดรูปร่างปลายแหลม กลางป่อง โคนแคบ สัน ค่อนข้างหนา ด้ามทำเป็นกั่นสอดติดกับด้ามไม้หรือทำเป็นบ้องติดอยู่ ในตัวก็มี ปรกติสอดใบมีดไว้ในฝักซึ่งทำด้วยไม้หรือหวายสาน นิยม เหน็บเอวด้านหลังหรือด้านหน้าในเวลาออกนอกบ้าน ใช้ประโยชน์ได้ หลายอย่าง, อีเหน็บ ก็เรียก.
  2. เหน็บ : ก. พูดเสียดสีแคะไค้ เช่น เขาชอบมาเหน็บให้เจ็บใจ. ว. อาการที่พูดเสียดสี แคะไค้ ในคำว่า พูดเหน็บ.
  3. เหน็บ : ก. เสียบ, สอดไว้ในที่บังคับ; กิริยาที่เอาสิ่งใดสิ่งหนึ่งมีสบู่เป็นต้นสอด เข้าไปในช่องทวารหนักเพื่อให้อุจจาระออก.
  4. เหน็บ : น. อาการชาและเจ็บแปลบปลาบตามแขนขาเป็นต้น เกิดจากหลอดเลือด และเส้นประสาทหรืออย่างใดอย่างหนึ่งบริเวณนั้นถูกกดทับระยะหนึ่ง.
  5. เหน็บชา : น. ชื่อโรคชนิดหนึ่ง เกิดจากขาดวิตามินบี ๑ ทําให้มีอาการชา ปลายมือปลายเท้าเป็นต้น.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : เหน็บ, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : เหน็บ, 1 found, display 1-1
  1. ตะเบ็งมาน : เป็นชื่อวิธีห่มผ้าของหญิงอย่างหนึ่ง คือ เอาผ้าโอบหลังสอดรักแร้ ๒ ข้างออกมาข้างหน้า ชักชายไขว้กันขึ้นพาดบ่าปกลงไปเหน็บไว้ที่ผ้าโอบหลัง

ETipitaka Pali-Thai Dict : เหน็บ, 7 found, display 1-7
  1. กจฺฉพนฺธน : (นปุ.) ายกระเบน, หางกระเบน. โจงกระเบน เป็นชื่อชายผ้าที่ม้วนลอดขา แล้วเหน็บไว้ข้างหลัง การนุ่งผ้าแบบนี้เป็น ผืนผ้าธรรมดา กว้าง ๑ หลา ยาว ๒.๕๐ เมตร สำหรับคนเล็กเตี้ยถ้าเป็นคนสูงใหญ่ กว้าง ๑ x ๓ เมตร เอาผืนผ้าโอบรอบตัว จับชายผ้าให้เสมอกัน แล้วห้อยลง เอาหัว เข่าหนีบไว้มิให้ผ้าเลื่อน มือรีดผ้ามาถึงเอว รวบริมผ้าทำเป็นจุกไขว้กันแล้วเหน็บไว้ที่ สะดือ เรียกว่าพกแล้วจับชายผ้าที่หนีบไว้ ขึ้นมาม้วนขวา ค่อย ๆ ม้วน ม้วนไปรีดไป ให้แน่น พอผืนผ้ากระชัยตัวดีแล้ว ดึงลอด ขา โดยยกขาขวา หรือขาซ้ายขึ้นเล็กน้อย ดึงชายสุดที่ม้วนไว้ขึ้นเหน็บไว้ที่กลางหลัง เรียกผ้าที่ม้วนไปเหน็บไว้ อย่างนี้ว่า ชาย กระเบน หรือหางกระเบน.
  2. กฏจฺฉุภิกฺขามตฺตทาน : (นปุ.) การให้ซึ่งวัตถุ มีภิกษาทัพพีหนึ่งเป็นประมาณ. เป็น ทุ ตัป. มี วิเสสนบุพ. กับ., ฉ. ตุล. และ วิเสสนปุพ. กัม. เป็นท้อง. คำว่าหนึ่งเป็น คำเหน็บเข้ามา ไม่ใช่เอก ศัพท์.
  3. ทฺวตฺตีสมหาปุริสลกฺขณปฏิมณฺฑิต : (วิ.) ประดับเฉพาะแล้วด้วยลักษณะของมหาบุรุษสามสิบสองประการ (คำประการเป็นคำเหน็บเข้ามา). เป็น ต. ตัป. มี วิเสสน บุพ. กัม, ฉ. ตัป และ ส. ทิคุ. เป็นภายใน.
  4. พฺยามปฺปภาปริกฺขิต : (วิ.) อันแวดล้อมแล้วด้วยรัศมีมีวาหนึ่งเป็นประมาณ. หนึ่งเป็นคำเหน็บเข้ามา.
  5. สาราค : (ปุ.) ความกำหนัดหนัก, ความกำหนัดหนักแล้ว (แล้วเป็นคำเหน็บเข้ามา), ตัณหา. สํ+ราค ลบนิคคหิตแล้วฑีฆะ.
  6. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  7. เอว : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้น, อย่างนั้น, นี้, อย่างนี้, ด้วยประการนี้, ด้วยประการอย่าง นี้, ด้วยประการนั้นเทียว, เท่านั้น, อย่างนั้น. ที่ใช้เป็นประธาน เอวํ อ. อย่างนั้น, อ. อย่างนี้ ที่ใช้เป็นคำถาม เหน็บคำว่า “หรือ”.

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : เหน็บ, not found

(0.1349 sec)