Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เห็นด้วย, เห็น, ด้วย , then ด้วย, หน, เห็น, เห็นด้วย .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เห็นด้วย, 1566 found, display 1-50
  1. ปติคิณาติ : ก. ยินยอม, เห็นด้วย, อนุญาต
  2. สมฺมนฺนติ : ก. รู้ชอบ, เห็นด้วย, ตกลง
  3. อภิรุจิต : กิต. ประสงค์, ชอบใจ, เห็นด้วย
  4. กมฺมชรูป กมฺมชฺชรูป : (นปุ.) รูปอันเกิดแต่ กรรม, กัมมชรูป กัมมัชชรูป คือรูปที่ กรรมสร้าง มองด้วยตาเนื้อไม่เห็น เกิด พร้อมกับปฏิสนธิจิต เพราะจิตยังอาศัยรูป นี้อยู่ และเกิดดับเป็นสันตติ จนถึงจุติจิต (มรณสันนวิถี). ส. กรฺมชรูป.
  5. กมฺมสริกฺขก : ค. พึงเห็นสมด้วยกรรม, พึงเห็นเสมอด้วยกรรม
  6. กมฺมสริกฺขตา : อิต. ความเป็น คือ อันบิณฑิตพึงเห็นเสมอด้วยกรรม
  7. กลฺลิต : นป. ความยินดี, ความพอใจ, ความเห็นด้วย
  8. จกฺขุกรณ, - กรณี : ค. ซึ่งกระทำปัญญาจักษุ, ผู้ทำให้เกิดปัญญาจักษุ, ผู้ทำให้เกิดความเห็นชัดด้วยใจ
  9. ฉนฺทานูมคิ : (อิต.) ความรู้ตามโดยความพอใจ ความยินยอมตามโดย ความพอใจ, ความเห็นชอบตามด้วยความพอใจ.
  10. ญาณทสฺสน : (นปุ.) ความรู้และความเห็น, ความเห็นด้วยญาณ, ความเห็นด้วยปัญญา, ญาณทัสสนะ. คำว่า ญาณทัสสนะ เป็นไป ในอรรถ ๖ อย่างคือ ผลมีโสดาบัตติผลเป็นต้น วิปัสสนามีอนิจจานุปัสสนาเป็นต้น ทิพพจักขุ ตาทิพย์ สัพพัญญุตา ความเป็นผู้รู้ธรรมทั้งปวง ปัจจเวกขณญาณ ญาณเป็นเครื่อง พิจารณา และ มัคคญาณมีโสดาบัตติมรรค เป็นต้น.
  11. ญาณทสฺสนวิสุทฺธิ : (อิต.) ความบริสุทธิ์แห่ง ความรู้และการเห็นพระนิพพาน (เหมือน เห็นด้วยตาเนื้อ), ปัญญาที่บริสุทธิ์แห่ง ญาณทัสสนะได้แก่ญาณในอริยมรรคทั้ง ๔.
  12. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  13. ทสฺสน : (นปุ.) การเห็น, การดู, การแลดู, การเฝ้า (ราชาศัพท์), ความเห็น, ฯลฯ. วิ. ทสฺสียเตติ ทสฺสนํ. ทิส. เปกฺขเณ. ยุ. แปลง ทิส เป็น ทสฺส. และยังแปลว่า โสตาปัตติ-มรรคด้วย อุ. ทสฺสเนน ปาหตพฺพา ธมฺมา. ธรรมท. อันพระโสดาปัตติมรรคพึงประหาณ. ส. ทรฺศน.
  14. ทสฺสนภูมิ : อิต. ภูมิแห่งการเห็น (ด้วยปัญญา), ระดับแห่งความรู้ความเห็น
  15. ทสฺสนสมฺปนฺน : ค. ผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยทัศนะ, ผู้มีความรู้ความเห็นอันถูกต้อง
  16. ทสิก : ค. ๑. ซึ่งเห็นได้, ซึ่งปรากฏรูป, ซึ่งมีรูปร่าง (ใช้ต่อท้ายศัพท์ในคำสมาสเช่น ทุทฺทสิก เป็นต้น) ; ๒. ซึ่งเป็นไปในชายผ้า, ซึ่งเนื่องด้วยชายผ้า
  17. ทิฏฐปาทาน : (นปุ.) ความถือมั่นด้วยอำนาจความเห็น, ความยึดมั่นด้วยอำนาจความเห็น.
  18. ทิฏฺฐวิปตฺติ : (อิต.) ความคลาดเคลื่อนโดยความเห็น, ความคลาดเคลื่อนด้วยความเห็น, วิบัติเพราะความเห็น, ทิฏฐิวิบัติ (เห็นผิดจากความเป็นจริง).
  19. ทิฏฺฐสสนฺทน : ป. การเปรียบเทียบทิฐิด้วยสิ่งที่ตนเห็น, การเปรียบเทียบความคิดเห็น, การสนทนากันเพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็น
  20. ทิฏฺฐานุคติ : (อิต.) อันเป็นไปตามซึ่งความยินดี, ฯลฯ, อันเป็นไปตามซึ่งความเห็น, อันเป็นไปตามซึ่งทิฎฐิ, ความดูเยี่ยงด้วยสามารถแห่งทิฎฐิ, ความดำเนินตามซึ่ง สิ่งอันปรากฏ, แบบอย่าง.
  21. ทิฏฺฐิปฺปตฺต : ค. ผู้ถึงแล้วซึ่งทิฐิ, ผู้บรรลุธรรมด้วยความเห็นถูกต้อง, ผู้เข้าใจในหลักความเห็น
  22. ทิฏฺฐิปรามาส : ป. การลูบคลำด้วยทิฐิ, ความงมงายเพราะทิฐิ, ความเข้าใจผิดไปจากความจริงเพราะความเห็นผิด
  23. ทิฏฺฐิสมฺปทา : อิต. ความถึงพร้อมด้วยทิฐิ, สมบูรณ์ด้วยความเห็นชอบ
  24. ทิฏฺฐิสมฺปนฺน : ค. ผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยทิฐิ, ผู้สมบูรณ์ด้วยความเห็นชอบ
  25. ทิฏฺฐิสารี : ค. ผู้แล่นไปด้วยทิฐิ, ผู้ดำเนินตามความเห็นผิด
  26. นิททาลุ : ค. ผู้มากด้วยการนอน, ผู้เห็นแก่นอน, ผู้นอนขี้เซา
  27. ปิหาลุ : ค. มากไปด้วยความปรารถนา, อยากได้, เห็นแก่ได้
  28. สทสฺสน : (นปุ.) การเห็นได้โดยง่าย, ความเห็นได้โดยง่าย. สุข+ทสฺสน, การเห็นได้ด้วยดี, ความเห็นได้ด้วยดี. สุฏฺฐุ+ทสฺสน.
  29. สนฺทิฏฺฐิก : ค. ผู้ปฎิบัติควรเห็นด้วยตนเองหมายถึงพระธรรม
  30. สาธุการ : (ปุ.) เสียงเครื่องกระทำว่าสาธุ, การเปล่งวาจาว่าชอบ, การเปล่งวาจาว่าชอบแล้ว, การแสดงความยินดี, การแสดงความยินดีด้วย, การแสดงความเห็นชอบด้วย.
  31. สุกฺขวิปสฺสก : (วิ.) ผู้เห็นแจ้งในมรรคเครื่องยังกิเลสให้แห้ง, (พระอรหันต์) ผู้สุกขวิปัสสก (สำเร็จพระอรหันต์ด้วยการเจริญวิปัสสนาอย่างเดียว).
  32. สุทสฺส : (วิ.) อันบุคคลพึงเห็นได้โดยง่าย. วิ. สุเขน ปสฺสิตพฺพนฺติ สุทสฺสํ. ทิสฺ เปกฺขเณ, โข. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส. ผู้เห็นสิ่งต่างๆ ด้วยดีเพราะความที่แห่งตนเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปสาทจักขุและทิพพาจักขุที่บริสุทธิ์ วิ. ปริสุทฺเธหิ ปสาททิพฺพจกฺขูหิ สมฺปนฺนตา สุฏฺฐุ ปสฺสนฺตีติ สุทสฺสา.
  33. สุทุทฺส : (วิ.) อัน...เห็นได้ด้วยความยากยิ่ง.
  34. อนิกสฺสน : (นปุ.) ที่ไม่เห็นด้วยจักษุ, อนิทัสสนะ ชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน.
  35. อนุปสฺสนา : (อิต.) การตามเห็น, การเพ่งเล็ง, การพิจารณา, การพิจารณาเห็น, การพิจารณาเนืองๆ, ความตามเห็น, ฯลฯ, อนุปัสสนาพิจารณาด้วยปัญญา, ปัญญา.อนุปสฺสนาวุจฺจติปญฺญา.ไตร. ๓๐/๘๐/๑๖๐.
  36. อพฺภนุชานาติ : ก. ยินยอม, เห็นชอบด้วย
  37. อเวกฺขน : นป. การเห็นชัด, การดูด้วยปัญญา
  38. ปิ : อ. แม้ว่า, ผิว่า, แต่, ถึงกระนั้น, บางที, อย่างไรดี, สมควร, ด้วย, เหมือนกัน
  39. เปกฺข : (วิ.) ดู, เห็น, ปรากฏ, เพ่ง, มุ่ง, จดจ่อ. ป+อิกฺขฺ+ณ ปัจ.
  40. ต : (อัพ. นิบาต.) เพราะ, เพราะเหตุนั้น, ด้วย เหตุนั้น. เป็นการณัตถนิบาต และ ปูร – ณัตถนิบาต.
  41. ตุมฺหาทิส ตุมฺหาทิสี : (วิ.) ผู้เช่นท่าน, เห็น ราวกะว่าซึ่งท่าน, เห็นราวกะว่าท่าน. วิ. ตุมฺห วิย ทิสฺสตีติ ตุมฺหาทิโส ตุมฺหาทิสี วา. ตุมฺหบทหน้า ทิสฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. รูปฯ ๕๗๒.
  42. เอกมนฺต : (อัพ. นิบาต) โดยส่วนเดียว, ด้วย แท้, รูปฯ เป็นนิบาตลงในอรรภสัตมี แปล ว่า ในที่ควรส่วนข้างหนึ่ง, ในที่แห่งหนึ่ง, ณ ที่แห่งหนึ่ง.
  43. พาหน : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องนำไป, ยาน. ดู วาหน ด้วย.
  44. กฏุมฺพ : (นปุ.) ทรัพย์ กุฏมฺ วตฺตเน. โพ แปลง อุ ที่ กุ เป็น อ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อุ. ดู กุฏุมฺพ ด้วย.
  45. กณฺณิกา : (อิต.) ยอด, ช่อ, ช่อฟ้า, ต่างหู, ตุ้มหู, ฝัก. วิ. เก สีเส นยตีติ กณฺณิกา. กปุพฺโพ, นยฺ คมเน, ณฺวุ, ยโลโป, อิตฺตํ, ณตฺตํ, ทฺวิตตญฺจ (แปลง อ ที่ น เป็น อิ แปลง น เป็น ณ แล้วแปลงเป็น ณฺณ ด้วย), อิตฺถิยํ อา. ส. กรฺณิกา.
  46. กตญฺญูกตเวที : (ปุ.) บุคคลผู้รู้คุณท่านและ ตอบแทนคุณท่าน, ฯลฯ. ไทยตัดพูดเฉพาะ กตัญญู แต่ความหมาย หมายถึง กตเวที ด้วย.
  47. กาโปต : (ปุ.) นกพิราบ. ดู กโปต ด้วย.
  48. กิปุริส กิมฺปุริส : (ปุ.) บุรุษหรือ, คนหรือ. กึ + ปุริส. บุรุษน่าเกลียด, คนน่าเกลียด. กุจฺฉิต+ปุริส. สัตว์คล้ายบุรุษ, สัตว์คล้าย คน. กิ+ปุริส. ศัพท์หลังลง นิคคหิตอาคม. บุรุษอะไร ๆ วิ. กิญฺจิ ปุริโส กิมฺปุริโส. ดู กินฺนร ด้วย.
  49. กีทิส กีทิกฺข กีริส กีริกฺข กีที : (วิ.) เช่นไร, ผู้เช่นไร. วิ. กมิว นํ ปสฺสตีติ กีทิโส (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นราวกะบุคคลไร, ...ราวกะว่า ใคร). โก วิย นํ ปสฺสตีติ กีทิโส วา (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นราวกะ อ. ใคร). กีปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, กฺวิ. ลบ นิคคหิต ทีฆะ ศัพท์ที่ ๒ และ ๔ แปลง ส เป็น กฺข ศัพท์ที่ ๓ และ ๔ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๕ แปลง ส เป็น อี รูปฯ ๕๗๒. โมคฯ สมาสกัณฑ์ ๘๗ ลง ริกฺข ปัจ.
  50. กุญฺจนาท : (ปุ.) เสียงร้องแห่งช้าง, เสียงบันลือ แห่งช้าง. วิ. คชานํ นาโท กุญฺจนาโท นาม. ใช้ คช แทน กุญฺจ. ดู โกญฺจนาท ด้วย.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1566

(0.1489 sec)