Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: โอ้อวด , then ออวด, โอ้อวด .

Eng-Thai Lexitron Dict : โอ้อวด, more than 7 found, display 1-7
  1. flash : (ADJ) ; โอ้อวด ; Syn:showy, ostentatious
  2. grandiloquent : (ADJ) ; โอ้อวด ; Related:ขี้คุย, ขี้โม้ ; Syn:pompous, boastful
  3. grandiloquently : (ADV) ; โอ้อวด ; Related:ขี้คุย
  4. ostentatious : (ADJ) ; โอ้อวด ; Related:ขี้อวด ; Syn:showy, gaudy
  5. ponce about/around : (PHRV) ; โอ้อวด ; Related:วางโต
  6. raffish : (ADJ) ; โอ้อวด ; Syn:gaudy, rakish
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : โอ้อวด, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : โอ้อวด, more than 7 found, display 1-7
  1. โอ้อวด : (V) ; boast ; Related:brag, gloat ; Syn:อวด, โม้, โว ; Def:พูดยกตัว, พูดอวดมั่งมี ; Samp:ผมไม่ได้พูดถึงคนไข้เหล่านี้เพื่อจะโอ้อวดว่าผมเก่ง
  2. โอ้อวด : (V) ; boast ; Related:brag, crow ; Syn:อวด, โม้, คุยโว
  3. โอ่อวด : (V) ; boast ; Related:brag ; Syn:โอ้อวด, อวด ; Def:พูดยกตัว, พูดอวดมั่งมี ; Samp:ความรู้ในข้อเขียนของท่าน ไม่ใช่ความรู้เพื่อโอ่อวด แต่เป็นความรู้เพื่อการปฏิบัติในการสร้างสรรค์ความเจริญ
  4. อวดโก้ : (V) ; boast ; Related:brag, flaunt ; Syn:โอ้อวด, ขี้คุย, ขี้โม้
  5. เขื่อง : (ADV) ; boastfully ; Related:braggingly, vauntingly, swaggeringly ; Syn:โว, โอ้อวด ; Def:ที่พูดโอ้อวดอย่างใหญ่โต ; Samp:เขาพูดเขื่องไปทั่วว่าตนเองร่ำรวยเหนือกว่าทุกคนในหมู่บ้าน
  6. เป้อเย้อ : (ADJ) ; boastful ; Related:bragging, swaggering, vaunting ; Syn:ขี้อวด, ขี้โอ่, ขี้คุย, อวด, โอ้อวด, ขี้โม้ ; Samp:ใครๆ ก็เบื่อคนเป้อเย้ออวดโอ้ความร่ำรวยของตนเอง
  7. โว : (V) ; brag ; Related:boast, swagger, vaunt, bluster ; Syn:โม้, โอ้อวด, คุยโต ; Ant:ถ่อมตัว ; Samp:ท่านปลัดหน้าเสียแต่ยังไม่วายที่จะโวตามแบบฉบับของเขา
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : โอ้อวด, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : โอ้อวด, 10 found, display 1-10
  1. โอ่อวด, โอ้อวด : ก. อวด, พูดยกตัว, พูดอวดความรู้ความสามารถ หรือความมั่งมีเป็นต้น. ว. ขี้อวด, ชอบพูดยกตัว, ชอบพูดอวด ความรู้ความสามารถหรือความมั่งมีเป็นต้น.
  2. เป้อเย้อ : ว. (โบ) อวด, โอ้อวด; เยิ่นเย้อ, ยืดยาด, มักใช้แก่การพูด เช่น พูดเป้อเย้อ.
  3. โว : (ปาก) ก. พูดโอ้อวด เช่น โวมากไปหน่อยแล้ว. ว. โอ้อวด เช่น คุยโว.
  4. สฐะ : (แบบ) ว. โกง, ล่อลวง; โอ้อวด. (ป.).
  5. คุย ๑ : ก. พูดจาสนทนากัน; (ปาก) ปรึกษาหารือ เช่น เรื่องนี้ขอคุยกันก่อน ที่จะตัดสินใจ; พูดเป็นเชิงโอ้อวด เช่น เรื่องแค่นี้ทำเป็นคุย.
  6. ทรรป : [ทับ] น. ความโง่, ความเซ่อ; ความโอ้อวด, ความจองหอง, ความเย่อหยิ่ง, เช่น แลมาให้แก่บาคค่อมขวลทรรป. (ม. คำหลวง ชูชก), ทัป ก็ว่า. (ส. ทรฺป; ป. ทปฺป).
  7. ทัป : น. ความโง่, ความเซ่อ; ความโอ้อวด, ความจองหอง, ความเย่อหยิ่ง, ทรรป ก็ใช้ เช่น ขวนทรรป ว่า ใฝ่จองหอง. (ม. คําหลวง สักบรรพ). (ป. ทปฺป; ส. ทรฺป).
  8. เย่อหยิ่ง : ว. จองหองเกินฐานะ, แสดงอาการยโสโอ้อวด, ถือตัว, อวดดี.
  9. ศฐะ : [สะ-] น. คนโกง, คนล่อลวง; คนโอ้อวด. (ส.; ป. ส?).
  10. หมาขี้ไม่มีใครยกหาง : (สํา) น. คนที่ชอบยกตัวเอง, คนโอ้อวด.

Budhism Thai-Thai Dict : โอ้อวด, 3 found, display 1-3
  1. สาเถยยะ : โอ้อวด, ความโอ้อวดหลอกเขา; เขียน สาไถย ก็ได้ (ข้อ ๖ ในมละ ๙, ข้อ ๑๐ ในอุปกิเลส ๑๖)
  2. อุปกิเลส : โทษเครื่องเศร้าหมอง, สิ่งที่ทำจิตใจให้เศร้าหมองขุ่นมัว รับคุณธรรมได้ยาก มี ๑๖ อย่าง คือ ๑) อภิชฌาวิสมโลภะ ละโมบ จ้องจะเอาไม่เลือกควรไม่ควร ๒) โทสะ คิดประทุษร้าย ๓) โกธะ โกรธ ๔) อุปนาหะ ผูกโกรธไว้ ๕) มักขะ ลบหลู่คุณท่าน ๖) ปลาสะ ตีเสมอ ๗) อิสสา ริษยา ๘) มัจฉริยะ ตระหนี่ ๙) มายา เจ้าเล่ห์ ๑๐) สาเถยยะ โอ้อวด ๑๑) ถัมภะ หัวดื้อ ๑๒) สารัมภะ แข่งดี ๑๓) มานะ ถือตัว ๑๔) อติมานะ ดูหมั่นท่าน ๑๕) มทะ มัวเมา ๑๖) ปมาทะ เลินเล่อหรือละเลย
  3. มละ : มลทิน, เครื่องทำให้มัวหมอง เปรอะเปื้อน, กิเลสดุจสนิมใจ มี ๙ อย่าง คือ ๑.โกธะ ความโกรธ ๒.มักขะ ความลบหลู่คุณท่าน ๓.อิสสา ความริษยา ๔.มัจฉริยะ ความตระหนี่ ๕.มายา มารยา ๖.สาเถยยะ ความโอ้อวดหลอกเขา ๗.มุสาวาท การพูดเท็จ ๘.ปาปิจฉา ความปรารถนาลามก ๙.มิจฉาทิฏฐิ ความเห็นผิด

ETipitaka Pali-Thai Dict : โอ้อวด, 9 found, display 1-9
  1. ทปฺป : (วิ.) เขลา, โง่, กระด้าง, หยิ่ง, จองหอง, โอ้อวด, ไว้ตัว, อหังการ. ทา กุจฺฉิตคมเน, อโป, รสฺโส, ปฺสํโยโค. หรือลง อพฺพ ปัจ. แปลง พ เป็น ป.
  2. สฐ : ค. ฉ้อฉล, ปลอม, โอ้อวด
  3. กตฺถิตุ : ป. ผู้โอ้อวด
  4. ปวิกตฺถิต : ค. ซึ่งโอ้อวด, ซึ่งคุยโม้
  5. สาเฐยฺย : นป. ความโอ้อวด
  6. สาเฐยฺย สาเถยฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้โอ้อวด, ความเป็นคนโอ้อวด, ความโอ้อวด, ความกระด้าง, สาไถย. สฐ+ณฺย ปัจ. ศัพท์หลัง แปลง ฐ เป็น ถ สาไถย ไทยใช้ในความว่า การทำมารยาให้ผู้อื่นเข้าใจผิดหลงผิด หรือการพูดเป็นเหลี่ยมเป็นคู. ส. คาฐฺย.
  7. อวิกตฺถี : ค. ไม่โอ้อวด, ไม่คุยโต
  8. อสฐ : ค. ไม่โอ้อวด, ไม่คดโกง
  9. อสาเฐยฺย : นป. ความไม่มีมายาสาไถย, ความไม่มีเล่ห์เหลี่ยม, ความไม่โอ้อวด, ความไม่โกง

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : โอ้อวด, 1 found, display 1-1
  1. ผู้โอ้อวด : สโฐ, สาเถยฺโย

(0.1247 sec)