Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ใจความ .

Eng-Thai Lexitron Dict : ใจความ, more than 7 found, display 1-7
  1. summary : (N) ; ใจความสรุป ; Related:ใจความสำคัญ, สาระสำคัญ ; Syn:abridgment, brief, compendium, outline
  2. body : (N) ; ใจความสำคัญของงานเขียน ; Related:เนื้อเรื่อง
  3. Eng-Thai Lexitron Dict : ใจความ, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ใจความ, 15 found, display 1-15
  1. ใจความ : (N) ; essence ; Related:matter, meaning, content, substance, pith ; Syn:ประเด็นหลัก, หลักสำคัญ, สาระสำคัญ ; Def:ส่วนสำคัญของเรื่อง ; Samp:บทความของเขามีใจความเป็นเชิงวิงวอนให้ข้าราชการมีความซื่อสัตย์สุจริต
  2. ใจความสำคัญ : (N) ; point ; Related:gist, substance, essence, core, idea ; Def:ส่วนสำคัญของเรื่อง ; Samp:ถ้าไม่มีเวลาก็อ่านเฉพาะใจความสำคัญของเรื่องก็ได้ ; Unit:ใจความ, เรื่อง, หัวข้อ
  3. ข้อใหญ่ใจความ : (N) ; important matter ; Related:main point ; Syn:เรื่องสำคัญ, ข้อสำคัญ ; Def:ส่วนสำคัญหรือแก่นของเรื่อง ; Samp:ข้อใหญ่ใจความของหนังสือเล่มนี้เป็นเรื่องเกี่ยวกับผีสางเทวดา
  4. เค้าความ : (N) ; gist ; Related:content, essence, point, substance ; Syn:ใจความ, เนื้อหา, สาระสำคัญ, ประเด็น ; Samp:หลังจากที่ได้เจรจากับหัวหน้า ก็พอจะจับเค้าความได้ว่าจะมีการประชุมใหญ่อีกครั้งสิ้นเดือนนี้
  5. แก่นสาร : (N) ; substance ; Related:permanency, essence, essential, theme ; Syn:สาระ, เนื้อหา, ใจความ, เนื้อความ, จุดสำคัญ ; Def:สิ่งที่ยั่งยืนถาวร, หลักที่ควรยึดถือ, คุณประโยชน์ (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ไม่เป็นแก่นสาร ; Samp:การอภิปรายครั้งนี้จะไม่มีเนื้อหาสาระอะไรเป็นแก่นสารเท่าใดนัก
  6. ข้อความ : (N) ; statement ; Related:term, message, text, passage, account, baby, content ; Syn:เนื้อความ, ใจความ ; Def:เนื้อความตอนหนึ่งๆ, ใจความสั้นๆ ของเรื่อง ; Samp:อาจารย์สั่งให้นักเรียนตัดข้อความเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมจากหนังสือต่างๆ มาอ่านหน้าห้อง ; Unit:เรื่อง
  7. เนื้อหาหลัก : (N) ; main substance ; Related:main content ; Syn:ใจความหลัก ; Samp:เนื้อหาหลักของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติคือปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานเพื่อสนับสนุนระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม
  8. สารัตถะ : (N) ; essence ; Related:kernel, substance, core, gist, nitty-gritty ; Syn:ใจความสำคัญ ; Def:เนื้อหาหลัก, ความคิดสำคัญของเรื่อง ; Samp:หากผู้ใดเข้าถึงสารัตถะจากพระบรมราโชวาท และสามารถนำไปปฏิบัติได้ ก็จะเป็นสิ่งดียิ่ง
  9. ประเด็น : (N) ; point ; Related:issue, keystone, gist, aspect ; Syn:เรื่อง, ข้อความสำคัญ, ใจความสำคัญ, หลักสำคัญ, หลักใหญ่, หัวข้อ ; Def:ข้อความสำคัญของเรื่องที่แยกหยิบยกขึ้นพิจารณา ; Samp:อาจารย์สรุปประเด็นสำคัญๆ ในบทเรียนเพื่อทบทวนให้นักเรียนก่อนสอบ ; Unit:ข้อ
  10. สรุป : (V) ; sum up ; Related:summarize ; Syn:ย่อความ, รวมความ, ย่อใจความ ; Ant:ขยายความ
  11. เก็บความ : (V) ; summarize ; Related:extract, digest, conclude ; Def:เลือกเอาแต่ข้อความที่สำคัญ, เก็บใจความ, สรุปความ ; Samp:เนื้อหาส่วนที่ 1 แกนเนื้อหาหลักจะเก็บความจากบางส่วนของหนังสือชั้นดี
  12. ข้อคัดย่อ : (N) ; abstract ; Syn:บทคัดย่อ ; Def:ข้อความที่ย่อเอาแต่ใจความสำคัญ ; Samp:บรรณาธิการกำลังรวบรวมข้อคัดย่อที่ผู้วิจัยส่งมา
  13. ย่อความ : (V) ; summarize ; Related:condense, abbreviate, be brief ; Syn:สรุปความ, ย่อเรื่อง ; Def:ตัดเนื้อความให้เหลือแต่ใจความ, ย่นเนื้อความให้น้อยลง ; Samp:ครูสั่งให้นักเรียนย่อความบทที่ 1 มาส่งเป็นการบ้าน
  14. สาระสังเขป : (N) ; abstract ; Syn:บทคัดย่อ ; Def:เนื้อหาโดยย่อ, ใจความทั้งหมดโดยย่อ ; Samp:หนังสือที่ระลึกนี้ได้รวบรวมสาระสังเขปของบทความวารสารทั่วโลกด้านธุรกิจและการจัดการไว้
  15. คัดลอก : (V) ; copy ; Related:transcribe, excerpt, duplicate, reproduce ; Syn:ลอก, ลอกแบบ, อัดสำเนา ; Samp:ครูให้นักเรียนคัดลอกเรียงความที่เขียนร่วมกันลงในสมุดของตนและให้ขีดเส้นใต้ประโยคใจความสำคัญ

Royal Institute Thai-Thai Dict : ใจความ, more than 5 found, display 1-5
  1. ใจความ : น. ส่วนสําคัญของเรื่อง, ตรงข้ามกับ พลความ.
  2. ข้อใหญ่ใจความ : น. เรื่องสําคัญ.
  3. พลความ : [พนละ] น. ข้อความที่ไม่ใช่ส่วนสำคัญของเรื่อง, ตรงข้าม กับ ใจความ.
  4. ข้อ : น. ส่วนที่อยู่ระหว่างปล้องของไม้ไผ่หรืออ้อยเป็นต้น, ส่วนตรงที่ของ ๒ สิ่งมาต่อกัน เช่น ข้อต่อท่อประปา; ตอนหนึ่ง ๆ, ชิ้นหนึ่ง ๆ, ท่อน หนึ่ง ๆ, เช่น อ้อยควั่นเป็นข้อ ๆ เข็มขัดทองเป็นข้อ ๆ; เรียกอวัยวะ บางส่วนที่มีข้อต่อและงอได้ เช่น ข้อมือ ข้อศอก ข้อเท้า; เนื้อความ ตอนหนึ่ง ๆ, ใจความสั้น ๆ ของเรื่อง, ข้อความ ก็ว่า, เรื่อง เช่น ข้อพิพาท ข้อยุติ, หัวข้อ เช่น ข้ออ้าง ข้อข้องใจ.
  5. ข้อความ : น. เนื้อความตอนหนึ่ง ๆ, ใจความสั้น ๆ ของเรื่อง.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ใจความ, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ใจความ, 8 found, display 1-8
  1. สังเขป : ย่อ, การย่อ, ใจความ, เค้าความ
  2. อรรถ : เนื้อความ, ใจความ, ความหมาย, ความมุ่งหมาย, ผล, ประโยชน์
  3. จักกวัตติสูตร : ชื่อสูตรที่ ๓ แห่งทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค พระสุตตันตปิฎก พระพุทธเจ้าตรัสสอนภิกษุทั้งหลายให้พึ่งตน คือพึ่งธรรม ด้วยการเจริญสติปัฏฐาน ๔ ซึ่งจะทำให้ได้ชื่อว่าเป็นผู้ดำเนินอยู่ในแดนของตนเองที่สืบมาแต่บิดา จะมีแต่ความดีงามเจริญขึ้นไม่เปิดช่องให้แก่มาร เช่นเดียวกับพระเจ้าจักรพรรดิที่ทรงประพฤติตามหลักจักรวรรดิวัตร อันสืบกันมาแต่บรรพชนของพระองค์ ย่อมทำให้จักรรัตนะบังเกิดขึ้นมาเอง, จักรวรรดิวัตร นั้นมี ๔ ข้อใหญ่ ใจความว่า ๑.พระเจ้าจักรพรรดิเป็นธรรมาธิปไตย และจัดการคุ้มครองป้องกันโดยชอบธรรม แก่ชนทุกหมู่เหล่าในแผ่นดิน ตลอดไปถึงสัตว์ที่ควรสงวนพันธุ์ทั้งหลาย ๒.มิให้มีการอันอธรรมเกิดขึ้นในแผ่นดิน ๓.ปันทรัพย์เฉลี่ยให้แก่ผู้ไร้ทรัพย์ ๔.ปรึกษาสอบถามการดีชั่ว ข้อควรและไม่ควรประพฤติ กะสมณพราหมณ์ ผู้ประพฤติดี ปฏิบัติชอบ อยู่เสมอ; จักรวรรดิวัตร ๔ ข้อนี้ บางทีจัดเป็น ๕ โดยแยกข้อ ๑.เป็น ๒ ข้อ คือ เป็นธรรมาธิปไตย ถือธรรมเป็นใหญ่อย่างหนึ่ง กับจัดการคุ้มครองป้องกันอันชอบธรรม อย่างหนึ่ง, นอกจากนั้น สมัยต่อมา อรรถกถาจัดแบ่งซอยออกไป และเพิ่มเข้ามาอีก รวมเป็น ๑๒ ข้อ เรียกว่า จักรวรรดิวัตร ๑๒ ; พระสูตรนี้ถือว่าเป็นคำสอนแสดงหลักวิวัฒนาการของสังคมตามแนวจริยธรรม กล่าวถึงหลักการปกครอง และหลักความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจกับจริยธรรม; เรื่องพระศรีอารยเมตไตรย ก็มีต้นเค้ามาจากพระสูตรนี้
  4. มธุรสูตร : พระสูตรที่พระมหากัจจายนะแสดงแก่พระเจ้ามธุรราช อวันตีบุตร กล่าวถึงความไม่ต่างกันของวรรณะ ๔ เหล่า คือ กษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศูทร ใจความว่าวรรณะ ๔ นี้ แม้จะถือตัวอย่างไร เหยียดหยามกันอย่างไร แต่ถ้าทำดีก็ไปสู่ที่ดีเหมือนกันหมด ถ้าทำชั่วก็ต้องได้รับโทษ ไปอบายเหมือนกันหมด ทุกวรรณะ เสมอกันในพระธรรมวินัย ออกบวชบำเพ็ญสมณธรรมแล้ว ไม่เรียกว่า วรรณะไหน แต่เป็นสมณะเหมือนกันหมด เมื่อจบเทศนาพระเจ้ามธุรราชประกาศพระองค์เป็นอุบาสก (สูตรที่ ๓๔ ในมัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ พระสุตตันตปิฎก)
  5. เมถุนสังโยค : อาการพัวพันเมถุน, ความประพฤติที่ยังเกี่ยวเนื่องกับเมถุน มี ๗ ข้อ โดยใจความคือ สมณะบางเหล่าไม่เสพเมถุน แต่ยังยินดีในเมถุนสังโยค คือ ชอบการลูบไล้และการนวดของหญิง, ชอบซิกซี้ เล่นหัวสัพยอกกับหญิง, ชอบจ้องดูตากับหญิง, ชอบฟังเสียงหัวเราะขับร้องของหญิง, ชอบนึกถึงการเก่าที่เคยหัวเราะพูดเล่นกับหญิง, เห็นชาวบ้านเขาบำรุงบำเรอกันด้วยกามคุณแล้วปลื้มใจ, หรือแม้แต่ประพฤติพรหมจรรย์ โดยตั้งความปรารถนาที่จะเป็นเทพเจ้า
  6. รูปกาย : ประชุมแห่งรูปธรรม, กายที่เป็นส่วนรูป โดยใจความได้แก่รูปขันธ์หรือร่างกาย
  7. สักยปุตติยะ : ผู้เป็นเหล่ากอแห่งพระศากยบุตร (ศากยบุตร หรือ สักยปุตต หมายถึงพระพุทธเจ้า), โดยใจความคือ ผู้เป็นลูกพระพุทธเจ้า ได้แก่พระภิกษุ (ภิกษุณีเรียกว่า สักยธิดา)
  8. สิลิฏฐพจน์ : คำสละสลวย, คำไพเราะ, ได้แก่คำควบกับอีกคำหนึ่งเพื่อให้ฟังไพเราะในภาษา หาได้มีใจความพิเศษออกไปไม่ เช่น คำว่าคณะสงฆ์ คณะก็คือสงฆ์ซึ่งแปลว่าหมู่ หมายถึงหมู่แห่งภิกษุจำนวนหนึ่ง “คณะ” คำนี้เรียกว่าเป็นสิลิฏฐพจน์ ในภาษาไทยเรียกว่าคำติดปาก ไม่ได้เพ่งเนื้อความ

ETipitaka Pali-Thai Dict : ใจความ, 1 found, display 1-1
  1. นย : (ปุ.) ภาวะเป็นเครื่องนำไป วิ. นยติ เอเตนาติ นโย. ภาวะอัน... ย่อมนำไป วิ. นียตีติ นโย. การนำ, การนำไป, การดำเนินไป, การแนะนำ, การสั่ง, คำสั่ง, ความไป, ความเป็นไป, ความดำเนินไป, ความควร, ความสมควร, ความชอบ, ความถูกต้อง, ความสมเหตุสมผล, ความสมเหตุผล, ความคาดคะเน, อาการ, อุบาย, เล่ห์เหลี่ยม, วิธี, ทาง, แบบ, แบบอย่าง, นัย ( ข้อความข้อเค้า เค้าความใจความ เนื้อความ). วิ. นยนํ ปวตตนํ คมนํ วา นโย. นิ นี นย. วา นยเน, อ. ส. นย, นาย.

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ใจความ, not found

(0.0544 sec)