Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ใดๆ , then ดๆ, ใดๆ .

Eng-Thai Lexitron Dict : ใดๆ, more than 7 found, display 1-7
  1. anything : (PRON) ; ใดๆ ; Related:สิ่งต่างๆ, บางสิ่งบางอย่าง ; Syn:something, anything at all
  2. underbelly : (N) ; ส่วนใต้ของวัตถุใดๆ ; Related:ส่วนท้องของวัตถุใดๆ ; Syn:bottom, underside, undersurface
  3. all : (ADJ) ; ทุกๆ ; Related:ทุก, ใดๆ ; Syn:every one of, each, any
  4. anyhow : (ADV) ; กรณีใดๆ ; Related:ในทุกๆ กรณี, ไม่ว่ากรณีใดก็ตาม ; Syn:in any event, at all events, in any case
  5. aught : (PRON) ; สิ่งใดๆ ; Related:สิ่งใด ; Syn:anything whatever
  6. butterfly : (N) ; คนโง่หรือคนที่ไม่ใส่ใจในเรื่องใดๆ ; Syn:scatterbrain
  7. jingoism : (N) ; ความเชื่อที่คิดว่าประเทศของตนเหนือกว่าชาติใดๆ ; Related:การรักชาติอย่างรุนแรง ; Syn:chauvinism
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : ใดๆ, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ใดๆ, more than 7 found, display 1-7
  1. ใดๆ : (PRON) ; anything ; Def:สิ่งต่างๆ ทั่วไป ; Samp:ใดๆ ในโลกล้วนอนิจจัง
  2. ใดๆ : (DET) ; any ; Related:whatever, anyone, anything ; Def:ใช้ประกอบคำอื่นแสดงความไม่เจาะจง ; Samp:ไม่มีข้อผิดพลาดใดๆ เกิดขึ้นทั้งสิ้น
  3. เงียบฉี่ : (ADJ) ; absolutely silent ; Related:very quiet, no voice ; Syn:เงียบกริบ, เงียบสงัด, เงียบสนิท ; Ant:ดัง, อึกทึก ; Def:ไม่มีเสียงใดๆ เลย ; Samp:เราก้าวเข้าไปในบ้านที่เงียบฉี่ปราศจากเสียงใดๆ อย่างระมัดระวัง
  4. ฟรี : (ADV) ; free ; Def:ไม่เสียมูลค่าหรือไม่ได้ค่าตอบแทนใดๆ ; Samp:คอมพิวเตอร์ชุมชนเปิดสอนคอมพิวเตอร์ โดยให้ผู้พิการเรียนฟรีไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ เลย
  5. กรรมาธิการ : (N) ; commissioner ; Related:commission, Board of Commissioner, committee ; Syn:กรรมการ ; Def:บุคคลที่ได้รับเลือกจากวุฒิสภาหรือสภาผู้แทนราษฎรตั้งเป็นตั้งเป็นคณะกรรมาธิการเพื่อกระทำกิจการหรือพิจารณาสอบสวนหรือศึกษาเรื่องใดๆ ตามที่สภามอบหมายแล้วรายงานต่อสภา คณะกรรมาธิการแบ่งออกเป็นคณะกรรมาธิการสามัญ ประกอบด้วยคณะกรรมาธิการที่เลือกจากบรรดาสมาชิกของสภา ; Samp:คณะกรรมาธิการขนส่งมวลชนจะประชุมเพื่อเตรียมการเรื่องรถไฟฟ้า
  6. เกียจคร้าน : (ADJ) ; lazy ; Related:idle, inactive, indolent ; Syn:ขี้เกียจ, ขี้คร้าน, คร้าน ; Ant:ขยัน, ขยันขันแข็ง ; Def:ความรู้สึกไม่อยากจะทำหรือคิดหรือไม่อยากแสดงอาการใดๆ ; Samp:คนที่มีเวลาว่างมากแล้วก็ไม่รู้จะทำอะไร เป็นคนเกียจคร้านบ้าง เป็นคนที่ไม่ฉลาดบ้าง ถึงต้องจัดให้เวลาว่างนี้เป็นประโยชน์
  7. เกียจคร้าน : (V) ; be lazy ; Related:be indolent, be idle, be slothful, be inert, be inactive ; Syn:ขี้เกียจ, ขี้คร้าน, คร้าน ; Ant:ขยัน, ขยันขันแข็ง ; Def:ความรู้สึกไม่อยากจะทำหรือคิดหรือไม่อยากแสดงอาการใดๆ ; Samp:คนบางพวกเกียจคร้านที่จะประกอบสัมมาอาชีพ คอยจ้องแต่จะลักขโมย เบียดเบียนคนอื่น
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ใดๆ, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ใดๆ, not found

Budhism Thai-Thai Dict : ใดๆ, 3 found, display 1-3
  1. ครุธรรม : ธรรมอันหนัก, หลักความประพฤติสำหรับนางภิกษุณีจะพึงถือเป็นเรื่องสำคัญอันต้องปฏิบัติด้วยความเคารพไม่ละเมิดตลอดชีวิต มี ๘ ประการ คือ ๑.ภิกษุณีแม้บวชร้อยพรรษาแล้ว ก็ต้องกราบไหว้ภิกษุแม้บวชวันเดียว ๒.ภิกษุณีจะอยู่ในวัดที่ไม่มีภิกษุไม่ได้ ๓.ภิกษุณีต้องไปถามวันอุโบสถและเข้าไปฟังโอวาทจากภิกษุทุกกึ่งเดือน ๔.ภิกษุณีอยู่จำพรรษาแล้วต้องปวารณาในสงฆ์ ๒ ฝ่ายโดยสถานทั้ง ๓ คือ โดยได้เห็น โดยได้ยิน โดยรังเกียจ (รังเกียจหมายถึง ระแวงสงสัยหรือประพฤติกรรมอะไรที่น่าเคลือบแคลง) ๕.ภิกษุณีต้องอาบัติหนัก ต้องประพฤติมานัตในสงฆ์ ๒ ฝ่าย (คือ ทั้งภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์) ๑๕ วัน ๖.ภิกษุณีต้องแสวงหาอุปสัมปทาในสงฆ์ ๒ ฝ่าย เพื่อนางสิกขมานา ๗.ภิกษุณีไม่พึงด่าไม่พึงบริภาษภิกษุไม่ว่าจะโดยปริยายใดๆ ๘.ไม่ให้ภิกษุณีว่ากล่าวภิกษุแต่ภิกษุว่ากล่าวภิกษุณีได้
  2. วิปากญาณ : ปรีชาหยั่งรู้ผลแห่งกรรมคือ รู้จักแยกได้ว่า บรรดาผลที่สัตว์ทั้งหลายได้รับอันซับซ้อน อันใดเป็นผลของกรรมดีหรือกรรมชั่วอย่างใดๆ เรียกเต็มว่า กรรมวิปากญาณ (ข้อ ๒ ในทสพลญาณ)
  3. อภิณหปัจจเวกขณ์ : ข้อที่ควรพิจารณาเนืองๆ, เรื่องที่ควรพิจารณาทุกๆ วัน มี ๕ อย่าง คือ ๑) ควรพิจารณาทุกวันๆ ว่า เรามีความแก่เป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้ ๒) ว่าเรามีความเจ็บไข้เป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความเจ็บไข้ไปได้ ๓) ว่าเรามีความตายเป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความตายไปได้ ๔) ว่า เราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น ๕) ว่าเรามีกรรมเป็นของตัว เราทำดีจักได้ดี เราทำชั่วจักได้ชั่ว; อีกหมวดหนึ่ง สำหรับบรรพชิต แปลว่า ธรรมที่บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ๑๐ อย่าง (ปัพพชิตอภิรหปัจจเวกขณ์) คือ ๑) บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า บัดนี้ เรามีเพศต่างจากคฤหัสถ์แล้ว ๒) ว่า การเลี้ยงชีพของเราเนื่องด้วยผู้อื่น ๓) ว่าเรามีอากัปกิริยาอย่างอื่นที่จะพึงทำ ๔) ว่า ตัวเราเองยังติเตียนตัวเราเองโดยศีลไม่ได้อยู่หรือไม่ ๕) ว่าเพื่อนพรหมจรรย์ผู้เป็นวิญญู ใคร่ครวญแล้ว ยังติเตียนเราโดยศีลไม่ได้อยู่หรือไม่ ๖) ว่า เราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น ๗) ว่าเรามีกรรมเป็นของตน เราทำดีจักได้ดี เราทำชั่วจักได้ชั่ว ๘) ว่า วันคืนล่วงไปๆ บัดนี้เราทำอะไรอยู่ ๙) ว่า เรายินดีในที่สงัดอยู่หรือไม่ ๑๐) ว่า คุณวิเศษที่เราบรรลุแล้วมีอยู่หรือไม่ ที่จะทำให้เราเป็นผู้ไม่เก้อเขิน เมือถูกเพื่อนบรรพชิตถามในกาลภายหลัง (ข้อ ๑ ท่านเติมท้ายว่าอาการกิริยาใดๆ ของสมณะ เราต้องทำอาการกิริยานั้นๆ ข้อ ๒) เติมว่าเราควรทำตัวให้เขาเลี้ยงง่าย ข้อ ๗) ท่านเขียนว่า อาการกายวาจาอย่างอื่นที่เราจะต้องทำให้ดีขึ้น ไปกว่านี้ยังมีอยู่อีก ไม่ใช่เพียงเท่านี้)

ETipitaka Pali-Thai Dict : ใดๆ, not found

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ใดๆ, not found

(0.1161 sec)