Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ค่ำ , then คำ, ค่ำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ค่ำ, 476 found, display 151-200
  1. ทสิก : ค. ๑. ซึ่งเห็นได้, ซึ่งปรากฏรูป, ซึ่งมีรูปร่าง (ใช้ต่อท้ายศัพท์ในคำสมาสเช่น ทุทฺทสิก เป็นต้น) ; ๒. ซึ่งเป็นไปในชายผ้า, ซึ่งเนื่องด้วยชายผ้า
  2. ทานกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งทาน, ถ้อยคำกล่าวถึทาน, การกล่าว ถึงทาน.
  3. ทิฏฺฐชุกมฺม : (นปุ.) การทำความเห็นให้ตรง คือการทำความเห็นให้ถูกต้องตามหลัก ธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธศาสนา.
  4. ทีฆ : (วิ.) ยาว, นาน, ช้า, ช้านาน, ยั่งยืน ยืน นาน (สิ้นความเสื่อม). คำนี้ มักเขียนผิด เป็นทีฆ พึงระวัง. ที ขเย, โฆ. ส. ทีรฺฆ.
  5. ทีฆายุ ทีฆายุก ทีฆาวุ : (วิ.) มีอายุยาว, มีอายุ นาน, มีอายุยาวนาน, มีอายุยืน, มีอายุ ยืนนาน, มีอายุยั่งยืน. คำที่สอง ก สกัด คำที่สาม แปลง ยุ เป็น วุ.
  6. ทีปนา : อิต. การชี้แจง, การอธิบาย, คำชี้แจง, คำอธิบาย, คำแถลง
  7. ทุกฺกต : (นปุ.) กรรมอัน...ทำชั่วแล้ว, การทำ ชั่ว, ฯลฯ. วิ. นินฺทิตํ กรณ มสฺส ทุกกตํ. คำแปลแรก ต ปัจ. กิริยากิตก์ คำแปล หลังๆ เป็น ต ปัจ. ลง ภาวะ.
  8. ทุกฺขวาจา : อิต. วาจาที่ก่อให้เกิดทุกข์, คำพูดก้าวร้าว
  9. ทุฎฺฐวจน : (นปุ.) ถ้อยคำอันโทษประทุษร้าย แล้ว, คำชั่ว, ถ้อยคำชั่ว.
  10. ทุฏฺฐุลฺล : ค., นป. ชั่วหยาบ, หยาบโลน, ต่ำ, ทราม; กรรมชั่ว, คำพูดหยาบโลน
  11. ทุพฺพลภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่ง...ผู้มีกำลัง อันโทษประทุษร้ายแล้ว, ฯลฯ, ความเป็นคนทุรพล, ความเป็นผู้ทุรพล. วิ.ทุพฺพลสฺส ภาโว ทุพฺพลภาโว. ไทยใช้คำทุพพลภาพ ในความว่า ไม่มีกำลังที่จะประกอบการงาน ความเสื่อมถอยกำลัง อ่อนเพลียไม่สมประกอบ.
  12. ทุพฺภาสิต : (นปุ.) คำอันเป็นทุพภาษิต.
  13. ทุรนฺวย : (วิ.) อัน...ไปตามได้ยาก, อัน...ไป ตามได้โดยยาก. ทุ อนุ. บทหน้า อิ ธาตุ อ หรือ ข ปัจ. พฤทธิ อุ ที่ อนุ เป็น ว แปลง อิ เป็น ย ลง รฺ อาคมหลัง ทุ คำแปลหลัง ทุกฺข อนุ เป็นบทหน้า ลบ กฺข.
  14. ทุรุตฺต : ค., นป. (คำพูด) ซึ่งเปล่งไว้ไม่ดี, ซึ่งกล่าวไว้ชั่ว; คำพูดชั่ว, คำหยาบ
  15. เทผ : (ปุ.) อันกล่าว, การกล่าว, คำกล่าว, การรบ, การนินทา, คำนินทา, คำติเตียน, การเบียดเบียน, การถือเอา. ทิผฺ กถนยุทฺธ- นินฺทาหึสาทาเนสุ, โณ.
  16. เทวน : (นปุ.) การกล่าว, การพูด, คำกล่าว, คำพูด. เทวุ วจเน. ยุ.
  17. เทสนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องแสดง, การแสดง, การบรรยาย, การชี้แจง, การแถลง, การสอน, เทสนา, เทศนา (การแสดงธรรม คำสั่งสอนในทางศาสนา). วิ. เทสียตีติ เท สนา. เทสนํ วา เทสนา, ทิสฺ ทิสิ วา อุจุจารเณ, ยุ, อิศฺถิยํ อา.
  18. ธนุปญฺจสต : (นปุ.) ร้อยห้าแห่งธนู, ห้าร้อย ชั่วธนู, ห้าร้อยชั่วธนู, ห้าร้อยชั่วธนูเป็น ๑ โกสะ. วิ. อาโรปิตานํ อาจริยธนูนํ ปญฺจสตํ ธนุปญฺจสตํ. วิ. นี้เฉพาะคำแปลหลัง. ธนุปญฺจสตํ โกโส นาม.
  19. ธมฺมจกฺก : (นปุ.) ธรรมเพียงดังจักร, ล้อคือ ธรรม, ลูกล้อคือธรรม , ธรรมจักร. เรียก พระธรรมเทศนา ซึ่งพระพุทธเจ้าเทศน์ ครั้งแรกว่า พระธรรมจักร เป็นคำเรียก แบบย่อ.
  20. ธมฺมญฺญู : (วิ.) ผู้รู้ซึ่งธรรม, ฯลฯ. คำแปลและ วิ. เลียนคำ ธมฺมจารี. ธมฺม+ญา+รู ปัจ. รูปฯ ๕๗๗.
  21. ธมฺมทสฺสี : (วิ.) ผู้เห็นซึ่งธรรม, ฯลฯ. คำแปล ที่ละไว้ และ วิ. ดูคำ ธมฺมจารี. ธมฺม+ทิสฺ+ณี ปัจ. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส.
  22. ธมฺมปริยาย : (ปุ.) กระบวนของธรรม, ลำดับ ของธรรม, การเล่าเรียนธรรม, การสอนธรรม, นัยเป็นเครื่องยังคำสอนให้เป็นไปรอบ, การอธิบายตามความหมายของธรรม.
  23. ธมฺมวาที : (วิ.) ผู้กล่าวซึ่งธรรม, ฯลฯ. คำแปล อีก และ วิ. เลียนแบบ ธมฺมจารีง
  24. ธมฺมสคีติ ธมฺมสงฺคีติ : (อิต.) การร้อยกรองซึ่งธรรม, การสังคายนาซึ่งธรรม, การ ร้อยกรองธรรม, การสังคายนามธรรม (คือการชำระพระธรรมวินัย คัดเอาคำที่ถูกต้องไว้).
  25. ธมฺมาลปน : นป. การร้องเรียกกันด้วยคำอันสมควร, การเรียกกันในแบบที่ถูกต้องตามธรรม
  26. ธมฺมิกถา ธมฺมีกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่อง กล่าวประกาศด้วยธรรม, วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งธรรม, ถ้อยคำอันเป็นไปในธรรม, คำพูดอันเป็นไปในธรรม, การพูดด้วยเรื่องธรรม, ถ้อยคำที่ประกอบ ด้วยเหตุผล, ถ้อยคำที่มีเหตุผล. ธมฺม+กถา อิ, อี อาคม.
  27. นมสฺสการ : (ปุ.) การทำซึ่งการนอบน้อม, ฯลฯ, นมัสการ. คำนมัสการใช้ในความหมาย ว่า ไหว้ เป็นส่วนมาก. ส. นมสฺการ.
  28. นย : (ปุ.) ภาวะเป็นเครื่องนำไป วิ. นยติ เอเตนาติ นโย. ภาวะอัน... ย่อมนำไป วิ. นียตีติ นโย. การนำ, การนำไป, การดำเนินไป, การแนะนำ, การสั่ง, คำสั่ง, ความไป, ความเป็นไป, ความดำเนินไป, ความควร, ความสมควร, ความชอบ, ความถูกต้อง, ความสมเหตุสมผล, ความสมเหตุผล, ความคาดคะเน, อาการ, อุบาย, เล่ห์เหลี่ยม, วิธี, ทาง, แบบ, แบบอย่าง, นัย ( ข้อความข้อเค้า เค้าความใจความ เนื้อความ). วิ. นยนํ ปวตตนํ คมนํ วา นโย. นิ นี นย. วา นยเน, อ. ส. นย, นาย.
  29. นวโกวาท : (ปุ.) โอวาทเพื่อภิกษุใหม่, คำสั่ง สอนสำหรับภิกษุและสามเณรผู้บวชใหม่, นวโกวาท ชื่อหนังสือเล่ม ๑ ซึ่งทางคณะ สงฆ์ประกาศใช้เป็นหลักสูตรนักธรรมชั้น ตรีและธรรมศึกษาชั้นตรี (ธ.ศ. ตรีนั้น ใช้เฉพาะส่วนธรรมวิภาคและคิหิปฏิบัติ).
  30. นวงฺคสตฺถุสาสน : (นปุ.) คำสั่งสอนของ พระศาสดามีองค์เก้า, นวังคสัตถุศาสน์. องค์ ทั้ง ๙ นั้น คือ สุตตะ๑ เคยยะ ๑ เวยยากรณะ คาถา ๑ อุทาน ๑ อิติวุตตกะ ๑ ชาดก อัพภูตธรรม ๑ เทวัลละ ๑.
  31. นาม : (นปุ.) ความน้อนไป, ความน้อมไปใน อารมณ์ทั้ง ๖, ชื่อ, นาม คือคำชนิดหนึ่ง ในไวยากรณ์ สำหรับเรียก คน สัตว์ ที่ และสิ่งของต่างๆ หรือชื่อของสิ่งที่มิใช่รูป คือจิตและเจตสิก เรียกว่านามธรรมหรือ อรูปธรรม ซึ่งเป็นคู่กับ รูปธรรม. วิ. นมฺยเต อตฺถยเต อตฺถยสฺวิติ นามํ. นาเมหิ นามยตีติ วา นามํ. ส. นามนฺ.
  32. นายิกา : (อิต.) หญิงผู้นำ, หญิงผู้เป็นหัวหน้า, นายิกา (หญิงผู้เป็นนายก). ประเทศที่มี หญิงเป็นนายก ไม่ได้ใช้คำนี้ ใช้คำนายก เช่นเดียวกันกับชาย.
  33. นิกาส : ๑. ป. เพื่อนบ้าน, ที่ใกล้เคียง, ๒. ค. ในคำว่า “สนฺนิกาส = คล้าย, เหมือน, ใกล้เข้าไป”
  34. นิคม : (ปุ.) ย่านการค้า, หนทางพ่อค้า, ตลาด, หมู่บ้าน, หมู่บ้านใหญ่, ตำบล, บาง, นคร, เวท, คำซ้ำ, คำกล่าวซ้ำ. ส. นิคม.
  35. นิคมคาถา : (อิต.) นิคมคาถา คือคำประพันธ์ ที่กล่าวย่อ คำเดิมให้สั้น เพื่อให้ผู้ฟังเข้า ใจง่าย.
  36. นิคมน : (นปุ.) คำเครื่องกล่าวซ้ำ, คำกล่าว ซ้ำ, การกล่าวตะล่อม, การตะล่อมความ, การออกไป. ส. นิคมน.
  37. นิฏฐรนิฏฐร : (นปุ.) คำกักขฬะ, ฯลฯ, ความกักขฬะ, ฯลฯ.
  38. นิทฺเทส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องแสดงออก, คำแสดงออก, คำจำแนกออก, คำชี้แจง, คำอธิบาย, การแสดงออก (มาให้เห็น ชัดเจน), การชี้, การชี้ให้เห็นโทษ, การแสดงอรรถที่เป็นข้อๆ ออก, นิทเทศ, นิเทศ (การแสดงอย่างพิสดาร).
  39. นินฺทา : (อิต.) การกล่าวติเตียน, การกล่าว โทษ, ความติเตียน, คำติเตียน. นิทิ กุจฺฉาย์, อ. ส. นินฺทา.
  40. นิปญฺญวาที : (วิ.) ผู้กล่าวซึ้งคำไร้ปัญญาโดย ปกติ, ฯลฯ, ผู้กล่าวซึ่งคำเครื่องยังทายก ให้ตกต่ำโดยปกติ.
  41. นิปาต : (ปุ.) การตกไปโดยไม่เหลือ, การตก ไปในระหว่าง, การไม่เปลี่ยนแปลง, การประชุม, ความตก, ความตกไป, ความไม่เปลี่ยนแปลง, นิบาต คือคำเรียก อัพยย- ศัพท์มี ป เป็นต้น อีกอย่างหนึ่งเรียก คัมภีร์ในพระพุทธศาสนา. นิปุพฺโพ, ปตฺ ปตเน, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. นิปาต.
  42. นิยม : (ปุ.) การกำหนด, การหมายไว้, การจำ ศีล, ความกำหนด, ความแน่นอน, ความพร้อมกัน, ความประพฤติ, ความชอบ, ความนับถือ, วัตร, พรต, พรตที่ประพฤติ ตามกาล. นิปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม, อ. คำนิยม ไทยใช้เป็นกิริยา ในความหมายว่า ชมชอบ ชื่นชม ยินดี ยอมรับ นับถือ. ส. นิยม.
  43. นิโยค : (ปุ.) การประกอบเข้า, การพยายาม, การยึดถือ, การแต่งตั้ง, ความประกอบเข้า, ฯลฯ, คำสั่ง, แบบแผน. นิปุพฺโพ, ยุชฺโยเค, โณ, ชสฺส โค. ส. โยค.
  44. นิรุตฺต : (นปุ.) ภาษา, คำพูด. นิจฺฉย หรือ นิสฺเสส บทหน้า วจฺ ธาตุ ต ปัจ. ลบ จฺ แปลง ว เป็น อุ แปลง ต เป็น ตฺต รฺ อาคม. รูปฯ ๖๑๓.
  45. นิรุตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องนำออก, ภาษา, คำพูด. ติปัจ.
  46. นิโรธสมาปตฺติ : (อิต.) การเข้าสู่นิโรธ (เป็น วิธีพักผ่อนของท่านผู้ได้ฌาน.) นิโรธ ในคำนี้ได้แก่การดับสัญญาและเวทนา.
  47. ปฏิญฺญ : ค. ผู้ให้คำปฏิญาณ, ผู้แสร้งทำ (ใช้เฉพาะในรูปสมาส)
  48. ปฏิญฺญา : อิต. ปฏิญญา, คำรับรอง, คำมั่น, สัญญา, การตกลง, การให้การเห็นชอบ, การอนุญาต
  49. ปฏิปุจฺฉา : อิต. คำย้อนถาม, คำทวนถาม
  50. ปฏิภาค : ค., ป. มีส่วนเปรียบได้, ซึ่งเปรียบเทียบกันได้, ซึ่งคล้ายคลึง, เท่ากัน; คนทัดเทียม, ศัตรู, ความเหมือนกัน; ความคล้ายคลึงกัน; คำตอบ
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | [151-200] | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-476

(0.0193 sec)