Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ค่ำ , then คำ, ค่ำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ค่ำ, 476 found, display 51-100
  1. สุวณฺณภูมิ : (อิต.) แดนทอง, แผ่นดินทอง, สุวรรณภูมิ. คำ สุวรรณภูมิ ไทยหมายถึง แผ่นดิน พม่า ไทย ลาว เขมร เวียดนาม มลายู และสิงคโปร์.
  2. อาโลปาโลป : (ปุ.) คำและคำ (ทุก ๆ คำ).
  3. อุตฺตริ : (วิ.) ยิ่ง, ยอดเยี่ยม, ชั้นเยี่ยม, แปลก, มากขึ้น, อุตริ. คำ อุตริ ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยออกเสียงว่า อุดตะหริ ใช้ใน ความหมายว่า แปลกออกไป นอกแบบ นอกทาง.
  4. เอตฺตาวตก : (วิ.) มีประมาณเท่านี้, มีประมาณ เท่านั้น. วิ. เอตํ ปริมาณ มสฺสาติ เอตฺ ตาวตโก. เอต+อาวตก ปัจ. ซ้อน ต. คำ แปลแรกเป็น เอต ที่แปลงมาจาก อิม คำ แปลหลังเป็น เอต ที่แปลว่า นั่น, นั้น.
  5. กกฺกสวาจา : (อิต.) คำหยาบ, ฯลฯ, วาจา หยาบ, ฯลฯ.
  6. กจฺฉุผล : (นปุ.) เต่ารั้ง เต่าร้าง ใช้ได้ทั้งสองคำ หมากคัน ก็เรียก.
  7. กญฺญ า : (อิต.) หญิงผู้อันบุรุษ ท. พึงยินดี, หญิงผู้อันบุรุษยินดี, หญิงผู้ยังบุรุษให้ยินดี, หญิงผู้รุ่งเรือง, สาวน้อย, นาง, นางสาว, นางสาวน้อย, หญิงสาว, นางงาม, ผู้หญิง (คำนามนาม มิใช่วิเสสนะ), ธิดา, พะงา. วิ. กนียติ กามียติ อภิปตฺถียติ ปุริเสหีติ กญฺญา. กนฺ ทิตฺติกนฺตีสุ, โย, นฺยสฺส ญตฺตํ ทฺวิตฺตํ, อิตฺถิยํ อา กํ ปุริสํ ญาเปตีติ วา กญฺญา. กปุพฺโพ, ญปฺ โตสเน, กฺวิ, ปฺโลโป, ญฺสํโยโค. โยพฺพนภาเว ฐิตตฺตา กนตีตี วา กญฺญา. ส. กนฺยา กนฺยกา.
  8. กฏจฺฉุ : (ปุ.) จวัก ตวัก ของคำนี้เป็นชื่อของ เครื่องใช้สำหรับตักข้าวหรือแกง ทำด้วย กะลามะพร้าว มีด้ามไม้ยาวคล้ายทัพพี เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าจ่า หรือกระจ่า, ทัพพี, ทรพี, ช้อน, ถ้วย. กฏฺ คติยํ, ฉุ, ทฺวิตฺตํ กฏจฺฉุ ที่มาคู่กับ ทพฺพิ ควรแปล กฏจฺฉุ ว่า ช้อน หรือ ถ้วย.
  9. กฏจฺฉุภิกฺขามตฺตทาน : (นปุ.) การให้ซึ่งวัตถุ มีภิกษาทัพพีหนึ่งเป็นประมาณ. เป็น ทุ ตัป. มี วิเสสนบุพ. กับ., ฉ. ตุล. และ วิเสสนปุพ. กัม. เป็นท้อง. คำว่าหนึ่งเป็น คำเหน็บเข้ามา ไม่ใช่เอก ศัพท์.
  10. กฏมฺภรา : อิต. บัวคำชนิดหนึ่ง; ช้างพัง
  11. กฏุกวาจา : (อิต.) คำรุนแรง, ฯลฯ, คำเผ็ด ร้อน.
  12. กถิกา : อิต. ถ้อยคำ, คำพูด
  13. กโถชฺช : นป. การทะเลาะกันในคำพูด
  14. กพฺพ : (นปุ.) กาพย์ ชื่อคำของกวี กลอน โคลง ฉันท์เป็นต้น. ไทยใช้หมายถึงคำประพันธ์ ชนิดหนึ่ง คล้ายฉันท์ แต่ไม่บังคับครุ, ลหุ. กุ สทฺเท, โณ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ. ส. กาวฺย
  15. กพล กพฬ : (ปุ.) คำข้าว วิ. เกน โตเยน พล มสฺสาติ กพโล. อถวา, กุ สทฺเท, อโล. กพิ วณฺเณ วา. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ. เป็น นปุ. ก็มี.
  16. กพลิงฺการ : ป. ก้อนข้าว, คำข้าว
  17. กพลิงฺการาหาร : ป. อาหารที่เป็นก้อนได้แก่คำข้าว
  18. กพฬ : ป. คำข้าว
  19. กมฺมวาจา : (อิต.) กรรมวาจา คือคำกล่าว แสดงงานที่สงฆ์จะต้องทำ คำประกาศกิจ การในท่ามกลางสงฆ์ในพิธีของสงฆ์. ส. กรฺมวาจา.
  20. กมฺมสฺสก : (นปุ.) กรรมอันเป็นของตน, กรรม เป็นของตน, กรรมของตน. วิเสสนุต. กัม. กมฺม+สก ซ้อน สฺ คำว่าของ เป็นคำแปล ของคำ สก.
  21. กวฺย : นป. กาพย์, คำประพันธ์ชนิดร้อยกรอง
  22. กวิ : (ปุ.) คนมีปัญญา, คนมีปัญญาดี. วิ. กวยติ กเถตีติ กวิ. กวิ วรฺณเณ, อิ. กุ สทฺเท วา. อภิฯ. คนผู้กล่าวคำเป็นที่ชอบใจ วิ. กนฺตํ กวตีติ กวิ. คนผู้กล่าวคำเป็นที่ชอบใจคือ คำอันยังใจให้เอิบ อาบ วิ. กนฺตํ มนาปวจนํ กวตีติ กวิ. กุ สทฺเท. กวฺ กวิ วณฺณายํ วา, อิ. นักปราชญ์ (ในศิลปะการประพันธ์). วิ. กพฺยํ พนฺธตีติ กวิ. อิ ปัจ. กัจฯ ๖๖๙. ส. กวิ.
  23. กวี : (ปุ.) คนผู้กล่าวซึ่งคำอันบุคคลพึงยินดี โดยปกติ วิ. กวติ กมิตพฺพวจนํ สีเลนาติ กวี. คนผู้กล่าวซึ่งคำอันบุคคลพึงรักโดย ปกติ วิ. กวติ เปมนียวจนํ สีเลนาติ กวี. กุ สทฺเท, ณี. ตั้ง วิ. ได้อีก.
  24. กาพฺย : (นปุ.) คำของกวี, กาพย์ ชื่อของคำ ร้อยกรองทั่วไป. กาพย์ ไทยใช้เป็นชื่อของ คำร้อยกรองชนิดหนึ่งคล้ายฉันท์ แต่ไม่มี บังคับ ครุ ลหุ เช่นกาพย์สุรางคนางค์ เป็นต้น. กุ สทฺเท, โณฺย. พฤทธิ์ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อาว ลบ อ ที่ ว เหลือ เป็น วฺ แล้วลบ ณฺ ของ ปัจ. ส. กาวฺย กาพฺย.
  25. กายบริหาร : (ปุ.) การรักษาร่างกาย, การดูแลร่างกาย. คำกายบริหาร ไทยใช้ในความหมายว่า การบำรุงร่างกาย การออกกำลัง เพื่อรักษาร่างกาย.
  26. กาเวยฺย : นป. กาพย์, กลอน, คำโคลง
  27. กาสาย กาสาว : (นปุ.) ผ้าอันบุคคลย้อมแล้ว ด้วยรสฝาด, ผ้าอันบุคคลย้อมแล้วด้วยน้ำ ฝาด, ผ้าย้อมด้วยรสฝาด, ผ้าย้อมด้วยน้ำ ฝาด, ผ้ากาสายะ, ผ้ากาสาวะ, จีวร. วิ. กสาเยน กสาเวน วา รตฺตํ วตฺถํ กาสายํ กาสาวํ วา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. คำจีวรใน ที่นี้ หมายเอาเฉพาะผ้าที่ย้อมด้วยน้ำฝาดใน ความหมายของพระพุทธศาสนา.
  28. กิมงฺค : (นปุ.) คำมีอะไรเป็นเหตุ, อะไรเป็น เหตุ. แปล องฺค ว่าเหตุ อ. กิมงฺคํ ปน ก็ อ. อะไรเป็นเหตุเล่า แปลโดยอรรถว่า จะป่วยกล่าวไปใย. กึ
  29. กิมิชาติ : (อิต.) ชาติแห่งหนอน, หนอน, แมลงต่าง ๆ. สองคำแปลหลัง ลง ชาติสกัด.
  30. กิริยา กฺริยา : (อิต.) การทำ, ความทำ, อาการ (ท่าทาง), กิริยา กริยา คำแสดงอาการของนามหรือสัพพนาม เป็นคำพูดส่วน หนึ่งในบาลีไวยากรณ์. วิ. กตฺตพฺพาติ กิริยา กฺริยา วา, กรณํ วา กิริยา กฺริยา วา. ไทยใช้ กริยา. ส. กฺริยา.
  31. กิลิฏฺฐ : (ไตรลิงค์) ถ้อยคำผิดเบื้องต้นเบื้อง ปลาย, คำไม่สมต้นสมปลาย, คำขัดแย้ง กัน, ความเศร้าหมอง. กิลิสฺ อุปตาเป, โต, ฏฺฐาเทโส, สฺโลโป.
  32. กึ : (นปุ.) อะไร, ประโยชน์อะไร. เวลาแป คุดคำว่าประโยชน์เข้ามา เช่น กึ อ. ประโยชน์อะไร หรือโยค ปโยชนํ เป็น กึ ปโยชน์ อ. ประโยชน์อะไร. เอสา เต อิตฺถี กึ โหติ. สตรีนี้เป็นอะไรของท่าน?. เอเต มนุสฺสา ตุมฺหากํ กึ โหนฺติ. คนเหล่านี้ เป็นอะไรของท่าน. กึ ศัพท์ในที่นี้เป็น วิกติกกัตตา.
  33. กุกฺกุล : (ปุ.) เถ้าร้อน, ถ่านร้อน, เถ้าสุม, เท่ารึง, เถ้ารึง เท่า เถ้าใช้ได้ทั้งสองคำ เถ้ารึงคือ เถ้าที่ไม่มีถ่านไฟ แต่ยังมีความร้อนอยู่. กุกฺกุ หตฺถํ ลุนาตีติ กุกฺกุโล. กุกฺกุปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อ, อุโลโป.
  34. กุณฺฑิก : ค. ผู้ดัด, ผู้ฝึกให้คดหรือให้โค้ง (ในคำว่า อหิกุณฺฑิก หมองู)
  35. กุลทูสก : (ปุ.) กุลทูสกะ เป็นคำเรียกภิกษุ ผู้ประจบคฤหัสถ์ด้วยอาการที่ผิดพระวินัย, ภิกษุประทุษร้ายตระกูล.
  36. กูฏวินิจฺฉยิกถา : อิต. คำวินิจฉัยที่ไม่ถูกต้อง, ถ้อยคำเท็จ
  37. โกสิก : (ปุ.) ไม้กำกูน. ไม้คำกูน ก็เรียก. กุสฺ เฉทเน, ณฺวุ, อุสฺโส, อิอาคโม.
  38. ขคฺค : (ปุ.) กระบี่, ดาบ, พระขรรค์ ชื่อศัตราวุธ ชนิดหนึ่ง มีคมสองข้าง กลางของความกว้างนูน ปลายแหลม, พระขรรค์ชัยศรี. คำชัยศรีเป็นคำใช้ประกอบชื่อของสิ่งต่างๆ ที่ถือว่าเป็นมงคล. ขคฺคฺ ขณฺฑเภเท, อ. ส. ขฑฺคฺ.
  39. ขจร : (วิ.) ไปในอากาศ, ฯลฯ. ขจร(ขะจอน) กำจร ไทยใช้เป็นคำกิริยาในความว่า ฟุ้งไป กระจายไป ระบือไป ดังไป.
  40. ขสนา : (อิต.) คำด่า, คำว่า, ด่า, บริภาษ. ขุสิ อกฺโกเส, ยุ, นิคฺคหิตาคโม.
  41. เขฬสิก, เขฬากปฺป : ค. ผู้กลืนกินน้ำลาย (เป็นคำที่หยาบคายหรือใส่โทษ), ผู้ติดในลาภสักการะ
  42. คณฺฐิปาท : นป. คำที่เป็นดุจปม, คำพูดที่มีเงื่อนงำ, คำพูดที่คลุมเครือ
  43. คณฺฑูส : ป. คำหนึ่ง, อาหารคำหนึ่ง
  44. คนฺถธุร : (นปุ.) กิจในคัมภีร์, การเล่าเรียน ความรู้ซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, การศึกษาคำ สั่งสอนซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, คันถธุระ ชื่อ ธุระอย่าง ๑ ใน ๒ อย่าง ของพระพุทธ ศาสนา. การเล่าเรียนพระปริยัติธรรมคือ คำสั่งสอน แล้วทรงจำไว้กล่าวสอนไม่ให้ ผิดไปจากหลักตัดสินพระธรรมวินัย ชื่อว่า คันถธุระ. เป็นหน้าที่ของพุทธศาสนิกชน โดยเฉพาะพระภิกษุและสามเณร. ธุระ อีกอย่างหนึ่งคือ วิปัสสนาธุระ.
  45. ควิ : ป. เครือเถาคล้ายต้นไม้ยืนต้น, ในคำว่า ควิปฺผล = ผลควิ
  46. คาถก : นป. คำอันเป็นคาถา
  47. คาถา : (อิต.) วาจาของบุคคลผู้มีปรีชา, คำของ บุคคลผู้มีปรีชา, วาจาอันบัณฑิตผูกไว้, สัททชาติอัณบัณฑิตกล่าว, ลำนำ (บทเพลง ที่เป็นทำนอง), กลอน, บทกลอน, เพลง, เกียรติ, คาถา ชื่อคำประพันธ์ทางภาษา มคธ เรียกคำฉันท์ที่ครบ ๔ บาทว่า ๑ คาถา (ระเบียบเป็นเครื่องอันบัณฑิตขับ) ชื่อองค์ที่ ๔ ของนวังคสัตถุศาสน์. คา สทฺเท, โถ, อิตฺถิยํ, อา. ส. คาถา.
  48. คารยฺหวจ : (ปุ.) คนพูดคำอันบัณฑิตพึงติเตียน, คนพูดเหลวไหล.
  49. คารยฺหวจ, คารยฺหวาที : ค. ผู้พูดคำที่น่าติเตียน
  50. คิรา : (อิต.) สัททชาติอันบุคคลพึงเปล่ง, วาจา อันบุคคลพึงเปล่ง. วิ. เคตพฺพาติ คิรา. เสียง ที่เปล่ง, ถ้อยคำ, วาจา, คำพูด. เค สทฺเท, อิโร
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-476

(0.0259 sec)