Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ค่ำ , then คำ, ค่ำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ค่ำ, 476 found, display 301-350
  1. ลปน : นป. ปาก, คำพูด, การพูด, การเจรจา
  2. วจ : ป., นป. คำพูด, การกล่าว
  3. วจน : นป. คำพูด, คำกล่าว, การแสดงออกทางวาจา
  4. วจนกฺขม : ค. ผู้ใคร่อยากทำตามคำกล่าวของคนอื่น
  5. วจนกร : ค. ผู้เชื่อฟังคำ
  6. วจี : อิต. คำพูด, ถ้อยคำ, คำกล่าว
  7. วจีคุตฺต : ค. ผู้สำรวมคำพูดได้
  8. วจีเภท : ป. การเปล่งคำพูดออกมา
  9. วจีวิญฺญตฺติ : อิต. วจีวิญญัติ, การกำหนดหมายให้รู้โดยทางคำพูด
  10. วทญฺญู : ค. ผู้รู้คำพูด, ผู้เผื่อแผ่, ผู้ใจดี
  11. วลิ : อิต. รอยพับ, รอยย่น; กลุ่มคำที่เรียกว่า ‘วลี’
  12. วากฺย : นป. คำอันเขากล่าว, คำพูด
  13. วาจา : อิต. การกล่าว, คำพูด
  14. วาจานุรกฺขี : ค. ผู้รักษาตามคำพูด
  15. วาจิก : ค. มีคำพูด
  16. วาท : ป. การกล่าว, คำพูด, ความเห็น
  17. วาทกฺขิตฺต : กิต. ซัดไปด้วยคำพูด, โค่นกันด้วยคำพูด
  18. เววจน : นป. คำมีรูปต่างกัน แต่ความหมายเหมือนกัน, ไวพจน์
  19. สกพล : นป. กำลังของตน, คำข้าวในปากของตน
  20. สงฺขยา, สงฺขา : อิต. การนับ, การคำนาณ
  21. สทฺทตฺถ : ป. ความหมายของคำ
  22. สนฺธาน : (นปุ.) การต่อ, การเชื่อม, การเกี่ยวข้อง, การพัวพัน, การสืบต่อ, ที่ต่อ, สันธาน ชื่อของคำที่เชื่อมประโยคให้เกี่ยวเนื่องกัน. ยุ ปัจ.
  23. สปถ : (ปุ.) คำด่า, คำแช่ง, การด่า, การแช่ง, การสาบาน,สบถ.วิ.สปนํ สปโถ สปฺ อกฺโกเส,อโถ.
  24. สปน : (นปุ.) คำด่า, คำแช่ง, คำสาบาน, การด่า, ฯลฯ, สาป, สบถ. ยุ ปัจ.
  25. สพฺพญฺญู : (ปุ.) พระสัพพัญญู พระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง (พระผู้รู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนมิได้). วิ. สพฺพสงฺขตมสงฺตตํ อนวเสสํ ชานาตีติ สพฺพญฺญู. รู ปัจ. สรรพัชญ์ สรรเพชญ์สองคำนี้เขียนตามรูปสันสกฤต. ส. สรฺวชฺฌ.
  26. สพฺพนาม : (ปุ.) ชื่อทั้งปวง, สัพพนาม สรรพนามชื่อคำนามประเภทหนึ่งสำหรับใช้แทนชื่อคนและสิ่งของที่ออกชื่อมาแล้ว.
  27. สมณโวหาร : (ปุ.) โวหารของสมณะ, โวหารอันควรแก่สมณะ, สมณโวหาร คือคำที่สำหรับใช้กับสมณะนั้นมีอีกประเภทหนึ่ง เช่นรับประทานข้าว ว่า ฉันจังหัน นอน ว่า จำวัด เป็นต้น
  28. สมฺปท : (นปุ.) คำเป็นเครื่องยังบุคคลให้ถึงพร้อม, คำเชิญ. ส. สมฺปท.
  29. สมฺผ : (นปุ.) คำอันผ่าซึ่งประโยชน์, คำอันทำลายซึ่งประโยชน์. วิ. สํหิตํ ปโยชน์ ผาตีติ สมฺผํ. คำอันยังประโยชน์ให้พินาศ, คำอันยังสุขให้พินาศ, คำอันประโยชน์สุขให้พินาศ. วิ. สํหิตํ ปโยชนํ ผาเลติ วินาเสตีติ สมฺผํ. สํหิตํ สุขญฺจ ผาเลติ วินาเสตีติ วา สมฺผํ. สํปุพฺโพ, ผา ผาลเน, อ.
  30. สมฺผปฺปลาป : (วิ.) (วจีประโยค) เป็นเครื่องกล่าวซึ่งคำอันทำลายเสียซึ่งประโยชน์, เป็นเครื่องกล่าวซึ่งถ้อยคำอันไม่เป็นประโยชน์แก่ตนและผู้อื่น, กล่าวซึ่งคำอันโปรยเสียวซึ่งประโยชน์, กล่าวคำเพ้อเจ้อ. วิ. สมฺยํ นิรตฺถกํ ปลปติ เปเตนาติ สมฺผปุปลาโป. สมฺผปุพฺโพ, ปปุพฺโพ จ, ลปุ วจเน, โณ. ปสํโยโค.
  31. สมฺผปฺปลาปี : (ปุ.) คนผู้กล่าวคำเพ้อเจ้อ, คนพูดเพ้อเจ้อ.
  32. สมฺมต : (ปุ.) คำอันบุคคลพึงรู้ตาม, ถ้อยคำอันบุคคลพึงรู้ตาม. วิ. สมฺมนนิตพฺโพติ สมฺมโต. อันรู้ตาม, การรู้ตาม, โวหาร, ถ้อยคำ. วิ. สมฺมนนํ สมฺมโต. สํปุพฺโพ, มนฺ โพธเน, ตกฺ ปจฺจโย. ลบที่สุดธาตุและ กฺ กัจฯ ๖๔๓.
  33. สมฺมติสงฺฆ สมฺมุติสงฺฆ : (ปุ.) สงฆ์สมมติ, สงฆ์สมมุติ, สมมตสงฆ์, สมมุติสงฆ์. เป็นคำสำหรับเรียกพระภิกษุที่ไม่ได้เป็นพระอริยะ ผู้เข้าประชุมมิได้ละหัตถบาสกันตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไป.
  34. สมร : (ปุ. นปุ.) การรบ, การรบพุ่ง, การรบพุ่งกัน, สงคราม, การสงคราม. สํปุพฺโพ, อรฺ คมเน. อ. ไทย สมร(สะหมอน) ใช้ในความหมายว่านางในดวงใจ นางงาม นางซึ่งเป็นที่รัก สันสกฤตใช้เป็นคำเรียกกามเทพ แปลว่า ความรัก. ส. สมร.
  35. สมาทานวิรติ : (อิต.) การงดเว้นด้วยการสมาทาน, การงดเว้นจากการล่วงศีลด้วยการสมาทาน, เจตนางดเว้นด้วยการเปล่งคำสมาทาน, เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นด้วยการสมาทาน, สมาทานวิรัติ(เจตนางดเว้นจากการล่วงศีลซึ่งตนได้สมาทานไว้แล้ว).
  36. สมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่น, ความตั้งใจมั่น, ความตั้งมั่นด้วยดีแห่งจิต, ความตั้งมั่นด้วยดีในจิตในอารมณ์เดียว, ความไม่ส่ายไปแห่งจิต, ความสำรวมใจให้แน่วแน่, การตั้งจิตไว้ด้วยดีในอารมณ์เดียว, สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ความที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ความที่จิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งเฉพาะ ความที่จิตเพ่งอยู่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ. วิ. เอกาลมฺพเน สํ สุฏฐุ อาธานํ สมาธิ. สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. รูปฯ ๕๘๒ วิ. สมฺมา สมํ วา จิตฺตํ อาทธาตีติ สมาธิ. สมาธิใช้เป็นกุศลธรรมเป็นส่วนมากแต่ในที่บางแห่งท่านต้องการให้ชัดจึงเติมศัพท์ที่บ่งชัดไว้ข้างหน้าฝ่ายดี ท่านเติม สมฺมา เป็น สมฺมาสมาธิ ฝ่ายชั่ว ท่านเติม มิจฺฉา เป็นมิจฺฉาสมาธิ ดูคำ สติ ประกอบ. ส. สมาธิ.
  37. สรภญฺญ : (นปุ.) ความเป็นคืออันกล่าวด้วยเสียง, ธรรมอันบุคคลพึงกล่าวด้วยเสียง, สรภัญญะ ชื่อทำนองสำหรับสวดคำที่เป็นฉันท์ ชื่อทำนองสำหรับสวดคำที่เป็นฉันท์ ชื่อทำนองสวดอย่างหนึ่ง. สร+ภณ+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. หรือ สร+ภณฺ+ณฺย ปัจ. นามกิตก์.
  38. สลฺลาป : (ปุ.) การกล่าวกับ, การกล่าวด้วยดี, การกล่าวด้วยดีต่อกัน, การพูดจากัน, การสนทนา, การเจรจาปราศรัย, คำอ่อนหวาน. วิโรธรหิตํ วจนํ สลฺลาโป. สํปุพฺโพ, ลปฺ วาเ กฺย, โณ.
  39. สหสฺสเนตฺต : (ปุ.) เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่ง, เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่งเป็นประมาณ, เทวดาผู้มีพระเนตรหนึ่งพัน, ท้าวสหัสเนตร, ท้าวสหัสนัยน์, พระอินทร์. คำนี้ในหนังสือบางเล่ม เป็นท้าวหัสเนตร ท้าวหัสนัยน์ ตัด ส ตัวหน้าออก ความหมาย มิผิดหรือ? ส. สหสฺรากฺษ.
  40. สาป : (ปุ.) การแช่ง, การด่า, การให้ร้าย, คำแช่ง, คำด่า, คำสาป. สปฺ สาปฺ วา อกฺโกเส, โณ. ส. ศาป.
  41. สาราค : (ปุ.) ความกำหนัดหนัก, ความกำหนัดหนักแล้ว (แล้วเป็นคำเหน็บเข้ามา), ตัณหา. สํ+ราค ลบนิคคหิตแล้วฑีฆะ.
  42. สาวก : (วิ.) ผู้ฟัง, ผู้ฟังคำสั่งสอน.
  43. สาวิตฺติ : (อิต.) สาวิตติศาสตร์, สาวิตรี (คำสดุดีพระอาทิตย์บทหนึ่งในฤคเวท). อถโข ติปทํ ติปาท เมว สิยา สา สาวิตฺติ นาม. สวิตุสฺส อิสิโน อยํ วาจา สาวิตฺติ. อิณฺ ปัจ.
  44. สาสน : (นปุ.) คำสั่ง คำบังคับ (อาณา), พระพุทธพจน์(อาคม), การสั่งสอน คำสั่งสอน(อนุสาสน), จดหมาย (เลข), ข่าว ข่าวคราว, สาสน์ คือพระราชหัตถเลขาทางราชการหรือลิขิตของพระสังฆราช, ศาสนา สาสนา (คำสั่งสอนของพระศาสดา). วิ. สาสิยเตติ สาสนํ. สาสฺ อนุสิฎฐยํฐ ยุ. ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งการสั่งสอน (อบรม) สัตวโลก (มนุษย์) พร้อมทั้งเทวดาและพรหม วิ. สเทวกํ โลกํ สาสติ เอตฺถาติ สาสนํ. คำสั่งสอนอันเบียดเบียนกิเลส, คำสั่งสอนอันกำจัดกิเลส. วิ. กิเลเส สาลตีติ สาสนํ สสุ หึสายํ, ยุ. ทีฆะตันธาตุ. ส. ศาสน.
  45. สิโก : (ปุ.) เกียรติ, ยศ, เกียรติยศ, ชื่อเสียง, ความชื่นชม, ความสรรเสริฐ, คำสรรเสริญ, ฉันท์ (มีปฐยาวัตเป็นต้น). โศลก ชื่อคำประพันธ์สันสกฤต ๔ บาท เป็น ๑ บท เรียกว่า โศลก ๑ อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของคำสำหรับสวดสรรเสริญ. สิโลกฺ สงฺฆาต, อ.
  46. สิทฺธิ : (อิต.) คำสั่ง, คำสั่งสอน. สิธุ สาสเน. ความเจริญ, มงคล. สิธุ มงฺคเ ลฺย. การบรรลุ, การบรรลุผล, การสมความปรารถนา, ความสมปรารถนา, ความสำเร็จ. สิธฺ สํสิทฺธิยํ, ติ. แปลง ติ เป็น ทฺธิ ลบที่สุดธาตุเป็น ทฺ. ไทย สิทธิ หมายถึง อำนาจอันชอบธรรมที่จะทำอะไรได้ตามกฎหมาย. ส. สิทฺธิ.
  47. สุณิสา : (อิต.) หญิงสะใภ้, ลูกสะใภ้. วิ. สุณาตีติ สุณิสา (ผู้ฟังคำของผู้ใหญ่). สุ สวเน, ณีโส. สสุเรหิ สุณิตพฺพาติ สุณิสา (ผู้อันแม่ผัวและพ่อผัวพึงเบียดเบียน). สุณฺ หึสายํ, อิโส. ทฺวินฺนํ ชนานํ กุลํ สุณาตีติ สุณิสา (ผู้สืบตระกูลของชนทั้งสองฝ่าย). สุณฺ กุลสนฺ ตาเน.
  48. สุตุต สุตฺร : (นปุ.) พระพุทธวจนะ (ปาวจนา), พระสูตร ชื่อหมวด ๑ ในพระไตรปิฎก คำเต็มว่า พระสุตตันตะ. วิ.อตฺเถ อภสเวตีติ สุตฺตํ สุตรํ วา (หลั่งอรรถ). สุ อภิสเว, โต, ทวิตฺตํ, ตฺรณฺปจฺจโย วา. อตฺเถ สูเทตีติ วา สุตฺตํ สุตฺรํ. สูทฺ ปคฺฆรเณ, รสโส, ทฺโลโป. อตฺถํ สุฏฐ ตายตีติ วา สุตฺตํ สุตฺรํ (รักษาด้วยดีซึ่งอรรถรักษาอรรถไว้ดี). สุฏฐปุพฺโพ, ตา ปาลเน, อ, ฏฐโลโป. ศัพท์ต้นซ้อน ตฺ. สูตร ชื่อกฎของไวยากรณ์สำหรับใช้สร้างศัพท์ เช่น โยนํ โน การอาเทศเป็น โนแห่งโย ทฺ เป็นต้น.
  49. สุทฺธวจน : (นปุ.) คำหมดจด, ฯลฯ, คำถูก.
  50. สุภาสิต : (นปุ.) คำอัน...กล่าวดีแล้ว, สุภาษิต (คำพูดที่เป็นคติ).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | [301-350] | 351-400 | 401-450 | 451-476

(0.0221 sec)