Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ชี้แนะ , then ชน, ชี้แนะ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ชี้แนะ, 352 found, display 151-200
  1. อาวชฺชน : (นปุ.) การพิจารณาอารมณ์, ความพิจารณาอารมณ์. อาปุพฺโพ, วชฺ มคฺคเน, ยุ, ชฺสํโยโค.
  2. อาวิญฺชน : (วิ.) ชัก, ฉุด. อาวิญฺชนฉิทฺท ช่องสำหรับชัก.
  3. อาวิญฺชนกรชฺชุ : อิต. เชือกสำหรับชัก, สายยู
  4. อาสชฺชน : นป. การกระทบ, การติด, การข้อง
  5. อิญฺชน : (นปุ.) อิญฺชนา
  6. อุกฺกุชฺชน : (นปุ.) การหงาย. อุปุพฺโพ, กุชฺชฺ อโธมุขีกรเณ, ยุ. อุกฺกุฏน อุกฺโกฏน (ปุ., นปุ.?) การยกขึ้น, การเผยขึ้น, การเลิกขึ้น, การรื้อฟื้น.
  7. อุปฺปชฺชน : นป. การเกิดขึ้น, การอุบัติขึ้น
  8. อุมฺมชฺชน : (นปุ.) การทำให้สะอาด, การกวาด, การปัดกวาด, การขัดสี, การเช็ดถู. อุปุพฺโพ, มชฺช สุทฺธิยํ, ยุ. อุมฺมตฺต
  9. อุมฺมุชฺชน : นป. การโผล่ขึ้น
  10. อุยฺยุญฺชน : นป. ดู อุยฺยาม
  11. อุยฺโยชน : นป. การขวนขวาย; การส่งไป
  12. เอกโยชนทฺวิโยชน : (นปุ.) โยชน์หนึ่งหรือ โยชน์สอง, หนึ่งโยชน์หรือสองโยชน์. วิ. เอกโยชนํ วา ทฺวิโยชนํ วา เอกโยชนทฺวิ โยชนานิ. ปฐมาพหุพ. หรือ วิกัปปสมาส รูปฯ ๓๔๑.
  13. โอณชน : นป. การล้างออก, การทำความสะอาด
  14. โอโนชน : นป. การแจกจ่าย, การมอบให้, วิภาคกรรม
  15. โอปุญฺฉน,- ปุญฺชน : นป. การนำมารวมกัน, การทำให้เป็นกอง, กอง, ชั้น, การทา, การถู, การเช็ด
  16. โอสฺสชน : นป. การสละ, การเลิก, การปล่อย
  17. โจทก : (ปุ.) อาจารย์ผู้โจทก์, ชนผู้ทักท้วง, ชน ผู้ถาม, ชนผู้กล่าวหา, คนผู้ฟ้อง, โจทก์. จุทฺ สํโจทเน, ณฺวุ.
  18. อุปาสก : (ปุ.) ชนผู้นั่งใกล้พระรัตนตรัย, ชน ผู้นับถือพระรัตนตรัยเป็นสรณะ, อุบาสก (คนผู้ชายผู้นับถือพระพุทธศาสนา). วิ. รตนตฺตยํ อุปาสตีติ อุปาสโก. อุปปุพฺโพ, อาสฺ อุปเวสเน, ณฺวุ. ส. อุปาสก.
  19. กรมร : (ปุ.) ชนผู้จะพึงตายด้วยมือแห่งศัตรู วิ. สตฺตูนํ กเรน มริตพฺโพติ กรมโร. ชน ประหนึ่งว่าตายในมือ, เชลย, คนคุก. ส. กรมรินฺ.
  20. ทุติย : (วิ.) (ชน) เป็นที่เต็มแห่งชน ท. สอง, สอง ที่สอง, เป็นเพื่อน. วิ. ทฺวินฺนํ ปูรโณ ทุติโย (ชโน). ทฺวินฺนํ ปูรณี ทุติยา (ติถิ). ทฺวินฺนํ ปูรณํ ทุติยํ (กุลํ). ทฺวิ+ติย ปัจ. ปูรณตัท แปลง ทฺวิ เป็น ทุ รูปฯ ๓๙๔.
  21. ปริชน : (ปุ.) ชนผู้แวดล้อม, ชนผู้ข้างเคียง, ชนผู้เป็นบริวาร, ชนข้างเคียง, ชนผู้เป็น บริวาร. ปริวาร+ชน ลบ วาร.
  22. สาธารณูปโภค : (ปุ.) เครื่องใช้สอยทั่วไป, เครื่องใช้สอยอันเป็นประโยชน์แก่ชนทั่วไป. สาธารณ+ชน+อตฺถ+อุปโภค. ลบ ชน และ อตฺถ. สาธารณูปโภค (การประกอบกิจการอันเป็นประโยชน์แก่ชนทั่วไป).
  23. โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
  24. กตญฺญุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุคคลอื่นทำแล้วแก่ตน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุพการีชนทำแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้กตัญญู, ความเป็นผู้กตัญญู. วิ. กตญฺญุสฺส ภาโว กตญฺญุตา. รัสสะ อู เป็น อุ ในเพราะ ตา ปัจ. รูปฯ ๓๗๑. ความกตัญญู ลง ตา ปัจ. สกัด. มีสำนวนแปลอีก ดู กตญฺญู.
  25. กตเวที : (วิ.) ยังบุคคลให้รู้ซึ่งอุปการะอัน บุคคลอื่นทำแล้วแก่ตน, ยังบุคคลให้รู้ซึ่ง คุณอันบุคคลทำแล้วแก่ตน, ผู้ประกาศซึ่ง อุปการะอันบุพการีชนทำแล้ว, ผู้ตอบแทน อุปการะของท่าน, ผู้ตอบแทนอุปการคุณ ของท่าน, ผู้สนองคุณท่าน, ผู้ตอบแทนคุณ ท่าน.
  26. กปฺป : (วิ.) หย่อนหน่อยหนึ่ง, เกือบเท่า, รอบด้าน, ควร, สมควร, คล้าย, เช่น, เหมือน. กปฺปฺ ปริจฺเฉทเน, อ.
  27. กมฺมช : (วิ.) เกิดแต่กรรม วิ. กมฺมโต ชาโตติ กมฺมโช (วิปาโก). กมฺมโต ชาตาติ กมฺมชา (ปฏิสนฺธิ). กมฺมโต ชาตนฺติ มฺมชํ (รูปํ). ชนฺ ชนเน, กฺวิ, นฺโลโป. กมฺมโต ชาโต กมฺมโช. ต. ตัป., ปญ จ. ตัป.
  28. กรช : (วิ.) เกิดในน้ำ, เกิดในกาย. วิ. กเร ชายตีติ กรโช. กรปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, กฺวิ. เกิดจากกระ คือน้ำสัมภวะของมารดาและ บิดา วิ. กรา สมฺภวา ชาโต กรโช.
  29. กสิณมณฺฑล : นป. วัตถุกลมๆ เช่น กระด้ง สำหรับเพ่งเวลาทำกัมมัฏฐาน
  30. กายคตาสติ : (อิต.) สติอันไปแล้วในกาย, สติอันไปในกาย, กายคตาสติ คือการใช้ สติควบคุมจิตพิจารณาร่างกาย เช่น ผม ขน เล็บ เป็นต้น ให้เห็นว่าไม่งาม.
  31. กาฬานุสารี : (ปุ.) กะลำพัก ชื่อแก่นไม้ ซึ่ง เกิดจากต้นไม้บางชนิดซึ่งมีอายุมาก เช่น ต้นสลัดไดเป็นต้นมีกลิ่นหอม.
  32. กิจฺจวตฺต : (นปุ.) ความประพฤติอัน...พึงทำ, ฯลฯ, ความประพฤติตามหน้าที่, เรียกกิจ ทางศาสนาที่จะพึงทำเป็นประจำ เช่น ทำ วัตรเช้า ทำวัตรเย็น เป็นต้นว่า กิจวัตร. กิจที่ทำเสมอ ๆ แม้มิใช่กิจทางศาสนาก็ เรียกกิจวัตรได้บ้าง ผู้เขียนมีความเห็นว่า ควรยกไว้เป็นศัพท์เฉพาะกิจทางศาสนา เหมาะกว่า.
  33. กิญฺชกฺข : (ปุ.) เกษร (ส่วนในของดอกไม้) วิ. กิสฺมึ (ในดอกไม้) ชายติ ชลตีติ วา กิญฺชกฺโข. กิปุพฺโพ ชนฺ ชนเน, ชลฺ ทิตฺติยํ วา, โข, นสฺส ลสฺส วา กการตฺตํ, นิคฺคหิ ตาคโม.
  34. กิฏิก : นป. มักใช้ในรูปสมาส เช่น สํสรณกิฏิ – กํ, - กันสาด; อุคฺฆาฏนกิฏิกํ – ฝาค้ำ
  35. กิลญฺช : (ปุ.) เสื่อ, สาด, ลำแพน, เสื่อลำแพน, เสื่อหยาบ. กิลปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, กฺวิ, นิคฺคหิตาคโม.
  36. กึ : (นปุ.) อะไร, ประโยชน์อะไร. เวลาแป คุดคำว่าประโยชน์เข้ามา เช่น กึ อ. ประโยชน์อะไร หรือโยค ปโยชนํ เป็น กึ ปโยชน์ อ. ประโยชน์อะไร. เอสา เต อิตฺถี กึ โหติ. สตรีนี้เป็นอะไรของท่าน?. เอเต มนุสฺสา ตุมฺหากํ กึ โหนฺติ. คนเหล่านี้ เป็นอะไรของท่าน. กึ ศัพท์ในที่นี้เป็น วิกติกกัตตา.
  37. กุช : (ปุ.) ต้นไม้, กอไม้. วิ. กุโต ชาโตติ กุโช. กุปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, กฺวิ.
  38. กุฏุมฺพี : (ปุ.) คนมีทรัพย์, กุฏุมพี กระฏุมพี (คนมั่งมี, พ่อเรือน). ไทยใช้ กระฏุมพี หมายถึงคนชั้นเลวชั้นต่ำก็มี เช่น ไพร่ กระฏุมพี.
  39. กุล : (นปุ.) หมู่แห่งชนผู้มีชาติอย่างเดียวกัน. กลฺ สํขฺยาเณ, อ, อสฺสุ.
  40. กุลช : (ปุ.) ชนผู้เกิดในตระกูล, คนมีตระกูล.
  41. เกวฏฺฏ เกวตฺต : (ปุ.) คนผู้วนไปในน้ำเพื่ออัน จับซึ่งปลาเป็นต้น, ชาวประมง. วิ. เก อุทเก วฏฺฏนฺติ วตฺตนฺติ วา มจฺฉาทิคฺคหณตฺถํ อุมฺมุชฺชนนิมุชฺชนวเสน ปวตฺตนฺตีติ เกวฏฺฏา เกวตฺตา วา. เก อุทเก มจฺฉาทีนํ คหณตฺถาย วฏฺฏติ วตฺตติ วาติ เกวฏฺโฏ เกวตฺโต วา. กปุพฺโพ, วฏฺฏฺ วตฺตฺ วา วตฺตเน, อ. ไม่ลบ วิภัติบทหน้า.
  42. ขตฺติยกญฺญา : (อิต.) นางกษัตริย์, หญิงผู้เป็น พระเจ้าแผ่นดิน. วิ. ขตฺติยา กญฺญา ขตฺติยกญฺญา ขตฺติยา เป็น ปุ. มาก่อน เมื่อเป็นบทปลงใช้เป็น ปุ. ตามเดิม เวลา แปล แปลเป็นอิต. ตามประธาน ถ้าศัพท์ ที่เป็นอิต. ก็เป็นอิตตามเดิม เช่น คงฺคานที เป็นต้น
  43. ขตฺตุ : ก. วิ. ครั้ง, (ใช้ต่อหลังศัพท์สังขยา เช่น ติกฺขตฺตุ = สามครั้ง)
  44. ขราชิน : นป. หนังสัตว์ขรุขระ เช่น เครื่องนุ่งห่มของฤษี
  45. คคฺครี : (อิต.) ภาชนวิกัติสำหรับคนนมให้เป็น เนย วิ. คคฺค อิติ สทฺทํ ราตีติ คคฺครี. คคฺคปุพฺโพ, รา อาทาเน, อี.
  46. โคปาณสิ เคปาณสี โคปานสิ โคปานสี : (อิต.) กลอน ไม้กลอน (ไม้ที่พาดบนแป สำหรับวางเครื่องมุงหลังคา เช่น จากที่เย็บ เป็นตับ เป็นต้น), จันทัน ไม้จันทัน (ไม้ เครื่องบนสำหรับรับแปลานหรือระแนง). วิ. คํ วสฺโสทกํ สุริยาทิกิรณํ จ ปิวนฺติ วินาสยนฺติ อพฺภนฺตร มปฺปเวสนวเสนาติ โคปานา. อิฏฺฐกาทโย ; ตานิ สิโนนฺติ พนฺธนฺติ เอตฺถาติ โคปานสี. โคปานปุพฺโพ, สี พนฺธเน, อี.
  47. ฆรมานุส : ป. กลุ่มชนผู้อยู่ในเรือน
  48. จกฺก : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งการไป วิ. กโรติ คมน มเนนาติ จกฺกํ. กรฺ กรเณ, อ. เทว๎ภาวะ ก แล้วแปลง ก เป็น จ แปลง ก ตัวธาตุเป็น กฺก ลบที่สุดธาตุ. วัตถุอันหมุน ไป, ล้อ, ล้อรถ. จกฺ ปริวตฺตเน, โก. เสนา (พล กองพล), พล, กองพล, กองทัพบก. วิ. กรียเต วิคฺคโห อเนนาติ จกฺกํ. จักรชื่อ เครื่องประหารอย่างหนึ่ง มีรูปกลม มีแฉก โค้งโดยรอบ. วิ. จกฺเกติ พยฺถติ หึสติ เอเตนาติ จกฺกํ. จกฺกฺ พฺยถเน, อ. จักร ชื่อ สิ่งที่มีรูปกลม มีฟันเฟืองโดยรอบ, สมบัติ ,คุณสมบัติความดี,ความเจริญ, เครื่องหมาย , ลักษณะ( ลายจักรที่ฝ่าเท้าของคนมีบุญ ) ,ธรรม (ธรรมจักร), ข้อสั่งสอน, คำสั่งสอน จักร(มณฑลหรือวงรอบ), อุ อาณาจักร, ทาน(ไทยธรรม), กอง, ส่วน, คำ, “จักร” ไทย ใช้เรียกชื่อเครื่องกล เช่น เครื่องจักร รถจักร เป็นต้น. ส. จกฺร.
  49. จปุจปุ : (วิ.) จับๆ (จั๊บๆ). เสียงที่เกิดจากการเคี้ยวอาหารโดยมิได้หุบปาก ทาง พุทธศาสนาถือว่าเป็นกิริยาที่ไม่สุภาพ สุ ภาพชนไม่ควรทำ.
  50. ฉายา : (อิต.) เค้า คือสิ่งที่เป็นเครื่องกำหนด หมายให้รู้ สิ่งที่ส่อแสดงให้รู้ว่ามีลักษณะ เหมือนสิ่งอื่น, ความไม่มีแดด, เงา, ร่ม (บริเวณที่ไม่ถูกแดดไม่ถูกฝน), รูป, รูป เปรียบ, แสงสว่าง, ฉายา คือ ชื่อที่พระ – อุปัชฌายะตั้งให้เป็นภาษามคธเมื่ออุปสม – บท. วิ. เฉติ สํสยนฺติ ฉายา. ฉา เฉทเน, โย. ฉินฺทติ ปริสฺสมนฺติ วา ฉายา. ไทยใช้ เรียกชื่อภาษาไทยที่ตั้งกันเล่นๆตามลักษ – ณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ เช่น เปี๊ยก ว่ามี ฉายาว่า นายเปี๊ยก นอกจากนี้ยังหมายถึง นางผู้โฉมงามหรือเมียอีกด้วย.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | [151-200] | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-352

(0.0376 sec)