Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ชี้แนะ , then ชน, ชี้แนะ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ชี้แนะ, 352 found, display 201-250
  1. ฉิท : ค. ผู้ตัด, ผู้ทำให้แตก, ผู้ทำลาย, (นิยมใช้ในคำสมาส เช่น พนฺธนจฺฉิท = ผู้ตัดเครื่องผูก)
  2. ชคตี ปาล : (ปุ.) ชนผู้รักษาแผ่นดิน, พระราชา, พระยา.
  3. ชจฺจ : (นปุ.) ความเกิด, ความบังเกิด, กำเนิด. ชาติ. ชนฺ ชนเน, โย. แปลง นฺ เป็น ตฺ รวมเป็น ตฺย แล้วแปลงเป็น จฺจ.
  4. ชฐ : (ปุ.) ท้อง, พุง, ขอด, ปม. ชนฺ ปาตุภาเว, โฐ, นฺโลโป.
  5. ชณฺณุ ชณฺณุก : (นปุ.) เข่า, หัวเข่า. วิ. ชายติ คมน เมเตนาติ ชณฺณุ, ชนฺ ปาตุภาเว, ณุ. แปลง นฺ เป็น นฺน แล้วแปลงเป็น ณฺณ ศัพท์หลัง ก สกัด ใช้ ชนฺนุ เป็นส่วนมาก.
  6. ชตฺตุ : (นปุ.) คอต่อ, คอหอย. ชนฺ ชนเน, ตุ, นสฺส โต. ชรฺ วโยหานิยํ วา. ตุ, รสฺส โต. รูปฯ ๖๖๑.
  7. ชตุ : (นปุ.) ครั่ง ใช้เรียกทั้งตัวครั่งและขี้ครั่ง โดยมากหมายเอาขี้ครั่งที่ใช้เป็นชื่อตัวครั่ง น่าจะ เป็น ปุ., ยาง, ยางไม้. ชนฺ ชนเน, ตุ, นฺโลโป. ส. ชตุ.
  8. ชนก : (วิ.) (กรรม) อันยังวิบากขันธ์และกัม- มัชรูปให้เกิด วิ. วิปากขนฺธกกมฺมชฺชรูปา- นิ ชเนตีติ. ชนกํ. ชนฺ ชนเน, ณฺวุ.
  9. ชนฺตาฆร : (นปุ.) เรือนเป็นที่รักษาซึ่งชน ผู้ ผจญซึ่งไพรีคือโรค, เรือนไฟ โรงไฟ (ห้องสำหรับรมไฟเพื่อให้เหงื่อออก). วิ. ชนฺตา เอว ฆรํ ชนฺตาฆรํ.
  10. ชนาธิป : (ปุ.) คนผู้เป็นใหญ่แห่งชน, คนผู้เป็น จอมแห่งชน, พระผู้เป็นจอมแห่งชน, พระ จอมประชาชน, พระราชาผู้เป็นใหญ่แห่ง ชน, พระเจ้าแผ่นดิน, พระราชา. วิ. อธิ – ปาตีติ อธิโป. อธิปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, โร. ชนานํ อธิโป ราชา ชนาธิโป.
  11. ชนินฺท : (วิ.) ผู้เป็นใหญ่ในชน, ผู้เป็นใหญ่ใน หมู่ชน, ผู้เป็นจอมแห่งชน, ผู้เป็นจอมแห่ง หมู่ชน.
  12. ชเนตฺติก : (ปุ.) แปลเหมือน ชนก. ชนฺ ธาตุ เณ ปัจ. เหตุ ติ ปัจ. ซ้อน ตฺ ก สกัด.
  13. ชโนสภ : ป. ผู้นำหมู่ชน, ผู้เป็นใหญ่ในหมู่ชน
  14. ชยสุมน : (นปุ.) ชยสุมนะ ชื่อของต้นไม้ที่มี ดอกสีแดง เช่น หงอนไก่ ชบา, ดอกชบา, ดอกชัยพฤกษ์ และดอกคำ, ดอกชัยพฤกษ์ (แปล สุมน ว่า ดอก).
  15. ชาต : (ปุ. นปุ.) ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ. ชนฺ ชนเน, โต. แปลง ชนฺ เป็น ชา กัจฯ ๕๘๕ ว่า แปลงพยัญชนะที่สุดธาตุ เป็น อา.
  16. ชาปิก : (วิ.) อันยัง...ให้เกิด. ชนฺ ธาตุ ณาเป ปัจ. และ อิก ปัจ.
  17. ชามาตุ : (ปุ.) ลูกเขย (ชายผู้เป็นสามีของลูก สาว) วิ. ปปุตฺเต ชเนตีติ ชามาตา (ผู้ยัง หลาน ท.ให้เกิด). ชนฺ ชนเน, ริตุ. แปลง อ ที ช เป็น อา อ อาคม (เพื่อให้ นฺ เป็น น) แปลง น เป็น มา ลบ ริ.
  18. ชายา : (อิต.) ภริยา, ภรรยา, เมีย, ชายา (ถรร- ยาของเจ้านาย). วิ. ชายติ ปุตฺโต อิมายาติ ชายา. ชนฺ ชนเน, โย, ชนสฺส ชา. ชยตีติ วา ชายา. ชิ ชเย, โย, ชิสฺส ชา.
  19. ชิณฺณพฺยาธิมตสงฺขาต : (วิ.) อันบัณฑิตนับ พร้อมแล้วว่าชนผู้แก่แล้วและชนผู้เป็น พยาธิและชนผู้ตายแล้ว.
  20. ณฏฐ : (ปุ.) ชนผู้ตั้งอยู่ในความรู้, นักปราชญ์, บัณฑิต, ณัฏฐ์, ณัฐ. วิ. ญาณสฺมึ ฐิโตติ ณฏฺโฐ ญาณ+ฐ+ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  21. ตนฺติภาสา : (อิต.) ภาษันแบบแผน, ถาษาที่มี แบบแผน. เช่น ภาษามคธ สันสกฤต และละติน.
  22. ตนุช : (ปุ.) ชนผู้เกิดแต่ตน. ลูก, ลูกชาย. วิ. ตนุมฺหา ชาโต ตนุโช. ตนุ+ชนฺ+กฺวิ ปัจ.
  23. ติตฺถกร ติตฺถิกร ติตฺถีกร : (ปุ.) ชนผู้ทำซึ่ง ลัทธิ, ชนผู้สร้างลัทธิ, เจ้าลัทธิ, ติตถกร (ครูผู้สอนศาสนานอกศาสนา).
  24. ติตฺถิย : (ปุ.) ชนมีลัทธิดังท่าเป็นที่ข้าม, นิครนถ์ผู้มีลัทธิดังท่าเป็นที่ข้าม, เดียรถีย์ (นักบวชนอกพุทธศาสนา คนถือลัทธินอก พุทธศาสนา).
  25. ติรจฺฉานวิชฺชา : (อิต.) วิชาขวาง, วิชาขวาง ทางไปนิพพาน, ติรัจฉานวิชา คือความรู้ที่ไร้สาระ ความรู้ที่ไม่เป็นประโยชน์ วิชาที่ไม่ทำตนให้พ้นจากทุกข์ซึ่งพระพุทธเจ้า ทรงห้ามมิให้ภิกษุ - สามเณรศึกษา เช่น วิชาทำเสน่ห์ยาแฝดเป็นต้น.
  26. ตุลาการ : (ปุ.) ตุลาการ ชื่อบุคคลผู้ทำหน้าที่ตัดสินคดี, ชนผู้สร้างความเป็นธรรมแก่สังคม.
  27. เถยฺยสวาส : (ปุ.) การอยู่ร่วมโดยความเป็น แห่งขโมย, การอยู่ร่วมโดยความเป็นขโมย, การลักเพศ (การแต่งตัวให้ผิดไปจาก เพศเดิม เช่น ปลอมบวชเป็นสมณะ).
  28. ทณฺฑกกมฺม : (นปุ.) กรรมอัน... พึงทำด้วย อาชญา, กรรมคืออาชญา, การลงโทษ, การทำโทษ, การลงอาญา, การลงอาชญา, ทัณฑกรรม ( การลงโทษทางวินัย เช่น ให้กวาดลานวัด ตักน้ำรดต้นโพธิ์เป็นต้น ) . ส. ทณฺฑกรฺม.
  29. ทณฺฑช : (วิ.) เกิดแต่อาชญา วิ. ทณฺฑโต ชาโต ทณฺฑโช. เป็นนามกิตก์ ทณฺฑ บท หน้า ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ก็ได้ เป็น ปัญฺจ. ตัป. ก็ได้.
  30. ทตฺติก, - ติย : ๑. ค. อันเขาให้, ซึ่งเป็นของที่เขาให้ (ใช้ในคำสมาส เช่น กุลทตฺติก, สกฺกทตฺติย, มหาราชทตฺติย เป็นต้น) ๒. นป. ของที่เขาให้, ของถวาย
  31. ทฺวิชาต : (ปุ.) ชนผู้เกิดสองหน, พราหมณ์, สัตว์ผู้เกิดสองหน, นก, งู.
  32. ทิ : ค. สอง (ใช้เฉพาะในรูปสมาส เช่น ทิปท, ทิคุณ เป็นต้น)
  33. ทิฏฺฐิก : ค. ผู้มีทิฐิว่า, ผู้ถือลัทธิว่า (ใช้เฉพาะในรูปสมาส เช่น สมฺมาทิฏฺฐิก เป็นต้น)
  34. ทิพฺพจกฺขุ : (ปุ.) ชนผู้มีตาทิพย์ (จะดูอะไรก็ เห็นได้หมด แม้จะมีวัตถุกั้น).
  35. ทุกฺกฎ : (นปุ.) กรรมอัน...ทำชั่วแล้ว, กรรม ชั่ว, การทำเสีย, ความชั่ว, บาป, ทุกกฎ ชื่ออาบัติกองที่ ๖ เป็นอาบัติเบา แม้จะ เป็นอาบัติเบา ภิกษุ-สามเณรล่วงบางข้อ ก็ทำให้ศรัทธาของพระพุทธศาสนิกชนตกไปได้ เช่น นุ่งห่มไม่เรียบร้อย พูดจาไม่สำรวม เป็นต้น พึงระวัง. ศัพท์เป็น ทุกฺกต แปลง ต เป็น ฏ.
  36. เทส : (ปุ.) ประเทศ, บ้านเมือง, ถิ่น, ที่, ถิ่นที่, ท้องที่, ตำบล, จังหวัด, ชาวเมือง, การแสดง. ทิสฺ อคิสฺชฺชนปกาสอุจฺจารเณสุ, โณ. ส. เทศ.
  37. ธมฺมฏฐ : (ปุ.) ชนผู้ตั้งอยู่ในธรรม, ฯลฯ.
  38. ธมฺมธาตุ : (ปุ.) ชนผู้ทรงไว้ซึ่งธรรม, พระ ธรรมธาดา หมายเอาพระบรมศาสดา.
  39. ธมฺมนาถ : (ปุ.) ชนผู้มีธรรมเป็นใหญ่, ชนผู้ รักษากฎหมาย
  40. ธาม : (นปุ.) ความเกิด. ชนฺ+ม ปัจ. แปลง ชนฺ เป็น ชา แปลง ชา เป็น ธา.
  41. ธี : (อิต.) ปรีชา, ปัญญา. วิ. ฌายตีติ ธี, เฌ จินฺตายํ, กฺวิ, ฌสฺส โธ, เอการสฺส อีกาโร. ธาเรตีติ วา ธี. ธา ธารเณ, สํขาเรสุ วิกาโร ชายติ เอตายาติ วา ธี, ชนฺ ชนเน, ชนสฺส ชา. แปลง ชา เป็น ธา แปลง อา ที่ ธา เป็น อี.
  42. ธุวเสตุ : ป. สะพานประจำ, สะพานถาวร (ซึ่งยื่นไปยังแม่น้ำลำคลอง ฯลฯ เช่น สะพานท่าน้ำหรือท่าเรือ)
  43. นคช : (ปุ.) ชนเกิดที่ภูเขา, คนชาวเขา, ชาว เขา, สัตว์เกิดที่ภูเขา, ช้าง.
  44. นร : (ปุ.) คน, บุคคล, มนุษย์, สัตวโลก, บุรุษ, ชาย, นระ, นรชน, นาย. วิ เนตีติ นโร. นิ นี นยเน, อโร. นรตีติ วา นโร. นร นยเน, อ. ที่เป็นพหุ. แปลว่าประชาชน. ส. นร, นฤ.
  45. นาคร : (ปุ.) ชนผู้เกิดในนคร, ชนผู้อยู่ในนคร, ชาวพระนคร, ชาวเมือง, ชาวกรุง. วิ. นคเร ชาตา นาครา. นคเร วสนฺตีติ วา นาครา.
  46. นิกาย : (ปุ.) ที่อยู่, เรือน. วิ. นิจิยฺยเตฉาทิยเตตี นิกาโย. นิปุพโพ, จิ จเย, โย. แปลง จิ เป็น กาในเพราะยปัจ. ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, สภา, บริษัท, นิกาย ชื่อหมวด คัมภีร์ในพระสุตตันตปิฎก มี ๕ นิกาย คือ ๑. ทีฆนิกาย ๒. มัชฌิมนิกาย ๓. สังยุตตนิกาย ๔. อังคุตตรนิกาย และ ๕. ขุททกนิกาย ชื่อหมู่ชนผู้มีธรรมร่วม กันประพฤติธรรมร่วมกัน เช่น มหานิกาย. วิ. นิพฺพิเสเสน จิโนติ อวยเวติ นิกาโย. กุลํ สธมฺมีนํ สมานธมฺมานเมว ชนฺตูนํ คโณ นิกาโย นาม. ส. นิกาย.
  47. นิมุชฺชา : อิต. ดู นิมุชฺชน
  48. นิย นิยก : (วิ.) เป็นของตน วิ. เนตพฺโพ นิโย. นิ นเย, โณฺย. ฎีกาอภิฯ ผู้เกิดในตน, ผู้เกิดแต่ตน, ผู้อาศัยตนเกิด. วิ. อตฺตนิ ชาโต นิโย. อตฺตนา ชาโต นิโย. อตฺตานํ นิสฺสาย ชายตีติ นิโย. แปลง ชนฺ เป็น ชา รัสสะ แปลง ช เป็น ย ศัพท์หลัง ก สกัด นิ มาจาก นิสฺสาย.
  49. นิวตฺตนีย : ค. ซึ่งกลับ (ใช้เฉพาะรูปปฏิเสธเท่านั้น เช่น “อนิวตฺตนีย = ซึ่งไม่กลับ”)
  50. ปจฺเฉทน : นป. ดู ปจฺฉิชฺชน
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-300 | 301-350 | 351-352

(0.0431 sec)