Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ชี้แนะ , then ชน, ชี้แนะ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ชี้แนะ, 352 found, display 251-300
  1. ปฏิรูป : ค. ๑. เหมาะ, ควร, สมควร, เหมาะสม; ๒. (ใช้เป็นบทหลังในรูปสมาส เช่น มิตฺตปฏิรูป เป็นต้น) มีรูปเหมือน, คล้ายคลึง, เทียม, ปลอมแปลง
  2. ปภุ : (ปุ.) ชน, คน, บุคคล. ปปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, อ. รัสสะ อู เป็น อุ.
  3. ปมทวน : (นปุ.) สวนนางข้างใน ( สวนหลวง ทรงให้สร้างขึ้นเพื่อนางข้างใน ไม่ใช่เป็น ที่เที่ยวของชนอื่น ) วิ. ปมทานํ วนํ ปมทาวนํ. รัสสะ อา ที่ ทา เป็น อ.
  4. ปรปกฺข : (ปุ.) ชนผู้เป็นฝักฝ่ายอื่น, ข้าศึก, ศัตรู, ปรปักษ์. ส. ปรปกฺษ.
  5. ปรเมสฺสร : (ปุ.) ชนผู้เป็นใหญ่ยิ่ง, เทพผู้เป็น ใหญ่ยิ่ง, พระอิศวร, ปรเมศวร์.
  6. ปลฺลิกา : อิต. ปลาชนิดหนึ่ง; สัตว์ประเภทเลื้อยคลาน เช่น จิ้งจก ตุ๊กแก เป็นต้น
  7. ปสาท : ป., นป. ความผ่องใส, ความเบิกบาน, ความบริสุทธิ์, ความยินดี, ความพอใจ, จิตที่มีความสุขผ่องแผ้ว, ศรัทธา, ความสงบระงับ; ประสาท เช่น “ประสาทตา” เป็นต้น
  8. ปาณิมุตฺต : นป. ศัสตราที่ซัดหรือพุ่งไปจากมือ เช่น หอก
  9. ปานียถาลิกา : อิต., ปานียภาชน นป. ถ้วยน้ำ, ถ้วยน้ำดื่ม
  10. ปาโรห : ป. รากไม้ที่ย้อยลงมาจากกิ่ง (เช่น ต้นไทร)
  11. ปุคฺคล : ป. บุคคล, ปัจเจกชน
  12. ปุถุสตฺต : ป. ดู ปุถุชฺชน
  13. ปุพฺพช : (ปุ.) บุคคลผู้เกิดก่อน, พี่. วิ. ปุพฺเพกาเล ชายตีติ ปุพฺพโช. ปุพฺพสทฺทุปทํ, ชนฺ ชนเน, กวิ.
  14. ปุพฺพปท : (นปุ.) คำเป็นเครื่องถึงก่อน, คำอันเป็นส่วนเป็นเครื่องถึงก่อนบทนามนาม เช่น ซึ่งบุรุษเป็นต้น, บุพบท, บุรพบท (คำที่ทำหน้าที่เชื่อมคำต่อคำ).
  15. โปถุชฺชนิก : (วิ.) อันเป็นของมีอยู่แห่งปุถุชน, เป็นของปุถุชน. ปุถุชฺชน+ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  16. โปริส : (ปุ.) ชนผู้ยังความปรารถนาของหญิงให้เต็ม, คนผู้มีปรีชา, คนผู้มีปัญญา. ปุรฺ ปูรเณ, อิโส.
  17. ผสฺส : (ปุ.) อันกระทบ, อันถูกต้อง, การกระทบ, การถูกต้อง, ความกระทบ, ความถูกต้อง. วิ. ผุสนํ ผสฺโส. ผัสสะ อารมณ์ วิ. ผุสิยเตติ ผสฺโส ผุสิตพฺโตติ วา ผสฺโส. ผุสฺ สมฺผสฺเส, อ, ผสสฺส ผสฺโส (แปลง ผุส เป็น ผสฺส). อภิฯ. รูปฯ ๕๖๑ ลง ณ ปัจ. สัมปยุตตธรรม ประกอบด้วยสิ่งนั้น ชื่อผัสสะแต่ละอย่าง เช่น ตากระทบรูป เป็นต้น.
  18. พพฺภรพ : ป. การทำเสียงให้ดัง; การทำให้ก้อง, การทำเสียงดังพะพะ เช่น เสียงทุบและเสียงกระทบเป็นต้น
  19. พฺยญฺชสโยค : (ปุ.) การซ้อนกันของพยัญชนะ, พยัญชนสังโยค คือพยัญชนะที่ใช้ซ้อนกันได้ตามกฎเกณฑ์ หรือพยัญชนะที่เป็นตัวสกดตามอักขรวิธี.
  20. พฺยางฺค : (นปุ.) ส่วนของเสียง, หน่วยของเสียงหนึ่งๆ, พยางค์ คือ เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่งๆ เช่น ชโน มี ๒ พยางค์ กตฺวา มี ๒ พยางค์ ปุริโส มี ๓ พยางค์ เป็นต้น.
  21. พฺรหฺมพนฺธุ : (ปุ.) ชนผู้เป็นพวกพ้องแห่งพรหม, พราหมณ์.
  22. พฺรหาหฺมณ : (ปุ.) พราหมณ์ มีความหมายดังนี้.- ๑. เป็นชื่อของชนวรรณะหนึ่ง วิ. พฺรหฺมํ อณตีติ พฺราหฺมโณ. มนฺเต สชฺชายตีติ อตฺโถ, พฺรหฺมปุพฺโพ, อณฺ สทฺเท, โณ. พฺรหฺมุโน อปจฺจํ พฺราหฺมโณ. ณ ปัจ. โคตตตัท. นฺ อาคม แปลง นฺ เป็น ณฺ. เขาถือว่า พวกเขาเกิดจาก อุระ หรือปากของพระพรหม.และ ๒. เป็นชื่อของพระอริยเจ้า พระอรหันต์ พาหิตปาปตฺตา พฺราหฺมโณ ชื่อ พระอรหันต์ เพราะความเป็นผู้มีบาปอันลอยแล้ว (ละบาปได้แล้ว).
  23. พริห : (นปุ.) หาง เช่น หางนกยูง. วรหฺ ปาธานิเย, อ. แปลง ว เป็น พ และ อ ที่ ร เป็น อิ.
  24. พลิปฏิคฺคาหก : ค. ผู้รับเครื่องบูชา, ผู้รับพลีกรรม เช่น พวกพราหมณ์, ผู้เก็บภาษี
  25. พาหุชญฺญ : ค. อันเป็นของชนหมู่มาก, มีชนมาก
  26. พีช : (นปุ.) เหตุ, มูลเหตุ, มูลเค้า, เมล็ด, ฟอง (ฟองไข่), นิมิตบุรุษ, นิมิตสตรี, องคชาต, น้ำสุกกะ, พันธุ์ไม้, ต้นไม้, พืช (สิ่งที่จะเป็นพันธุ์ต่อไป). วิเสสปุพฺโพ, ชนฺ ปาตุภาเว, โร. ลบ เสส แปลง วิ เป็น พิ ทีฆะ ลบ ที่สุดธาตุ และ รปัจจัย อภิฯ ลง กฺวิ ปัจ.
  27. พีชโกส : (ปุ.) ฝัก เช่น ฝักบัว. พีช+โกส.
  28. พีชคาม : (ปุ.) พันธุ์ไม้, พีชคาม ชื่อของผักที่เกิดแต่เมล็ด เช่น แมงลัก พืชพันธุ์ที่ถูกพรากจากที่แล้วยังไม่ตายยังจะเป็นได้อีก.
  29. พีชี : ค. ผู้มีพืช; ใช้ในคำสมาส เช่น เอกพีวี = ผู้มีพืชคือการเกิดอีกครั้งเดียว
  30. พุทฺธก : ค. ผู้มีปัญญาน้อย (มักใช้ในรูปสมาส เช่น คำว่า ทฺวงฺคุลพุทฺธก = ผู้มีปัญญาน้อยเพียงสองนิ้ว)
  31. ภตก : (ปุ.) ชนผู้บริโภคซึ่งค่าจ้าง, ลูกจ้าง, คนรับใช้ คนใช้. วิ. ภตึ ภุญฺชตีติ ภตโก. ภติ ก ปัจ. แปลง อิ เป็น อ อภิฯ.
  32. ภตฺติ : (อิต.) การแบ่ง, การแจก, การให้, การให้ปัน. ภชฺ ภาชน-ทาเนสุ, ติ แปลง ติ เป็น ตฺติ ลบ ชฺ.
  33. โภวาที : (ปุ.) ชนผู้กล่าวว่าพ่อผู้เจริญโดยปกติ, พราหมณ์. วิ. สุภาสุภกถนตฺถํ โภ โภติ วจนํ วทติ สีเลาติ โภวาที. ณี ปัจ.
  34. มณฺฑป : (ปุ. นปุ.) โรงอันรักษาไว้ซึ่งรัศมีคือแสงแห่งพระอาทิตย์ วิ. มณฺฑา รวิรํส-โย ปาตีติ มณฺฑโป. โรงดื่มซึ่งรัศมีคือแสงแห่งพระอาทิตย์ คือยังแสงแห่งพระอาทิตย์ให้ฉิบหาย (บังแสง อาทิตย์ไว้). ปา ปาเน, อ. โรงอันชนย่อมประดับ วิ. มณฺฑิยติ ชเนหีติ มณฺฑ-โป. มณฺฑฺ ภูสเน, โป. ปะรำ, โรงปะรำ, มณฑป (เรือนยอดรูปสี่เหลี่ยม).
  35. มนุสฺส : (ปุ.) ผู้มีใจสูง, ชนผู้มีใจสูง วิ. มโน อุสฺโส อสฺสาติ มนุสฺโส. ชนผู้รู้ซึ่งเหตุผลและสภาวิมิใช่เตุ วิ. การณาการณํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งประโยชน์และภาวะมิใช่ประโยชน์ วิ. อตฺถานตฺถํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งธรรมอันเป็นกุศลและอกุศล วิ. กุสลากุสเล ธมฺเม มนตีติ มนุสฺโส. มนฺ ญาเณ, อุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งประโยชน์ของตนตามกำลัง วิ. ยถาพลํ อตฺตโน หิตํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้เป็นเหล่ากอของพระมนู, ชาย, มนุษย์, ประชาชน, คน. วิ. มนูโน อปจฺจํ มนุสฺโส. อสฺส ปัจ. โคตดตัท. อภิฯ กัจฯ ๖๗๓.
  36. มลยช : (ปุ.) แก่นจันทน์. วิ. มลยมฺหิ ชายตีติ มลยโช. มลยปุพฺโพ. ชนฺ ชนเน, กฺวิ.
  37. มหาชน : (ปุ.) คนหมู่ใหญ่, คนหมู่มาก, ชนหมู่ใหญ่, ชนหมู่มาก, คนที่เป็นพวกกัน, มหาชน, แปลว่าประชาชน ก็ได้.
  38. มหาธาตุ : (ปุ. อิต.) ธาตุใหญ่, ทองคำ, มหาธาตุ เป็นคำเรียกสถูปที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ และเป็นคำเรียกวัด ซึ่งมีสถูปหรือสถานที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ เช่น วัดมหาธาตุ วัดพระศรีรัตน มหาธาตุ วัดพระศรีมหาธาตุ เป็นต้น.
  39. มหายาน : (ปุ.) มหายาน ชื่อนิกายของคณะสงฆ์ในพระพุทธเจ้าศาสนาฝ่ายเหนือ เช่น ประเทศจีน ญวน ญี่ปุ่น เป็นต้น คู่กันกับหีนยาน ซึ่งเป็นนิกายของคณะสงฆ์ฝ่ายใต้ ดู หินยาน ด้วย.
  40. มหาราช : (ปุ.) พระราชาที่มหาชนเคารพ, พระราชาผู้ใหญ่, มหาราช. พระมหาราช. พระราชาที่ทรงทำประโยชน์ให้แก่ประเทศชาติเหนือกว่าพระราชาองค์อื่นๆ. พสกนิกรจะถวายพระนามว่า มหาราช เช่น สมเด็จพระนเรศวร พระเจ้าตากสิน เป็นต้น. เพื่อเฉลิมพระเกียรติยศ. ศัพท์นี้ที่ใช้เป็น อาลปนะ สำหรับพระพูดกับพระเจ้าแผ่นดิน แปลว่า ขอถวายพระพร.
  41. มหาสาล : (วิ.) ผู้มั่งคั่ง, ผู้มั่งมี, ผู้มหาศาล คือ ผู้เป็นใหญ่. ผู้ยิ่งใหญ่ในหน้าที่ต่างๆ เช่น กษัตริย์มหาศาล คือ กษัตริย์ผู้มีอำนาจมาก คหบดีมหาศาล คือ คหบดีผู้มีทรัพย์มาก เป็นต้น.
  42. มาติกา : (อิต.) แม่บท, หัวข้อ, หัวข้อใหญ่, ทางน้ำ, ทางน้ำไหล, ร่องน้ำ, ลำราง, เหมือง, คลอง, สิ่งเหล่านี้เป็นเหมือนแม่เพราะเป็นของตั้งอยู่ในความสำเร็จของปวงชน.
  43. มาตุคาม : (ปุ.) อัตภาพมีบ้านดังบ้านแห่งมารดา, อัตภาพถึงซึ่งความเป็นผู้เสมอด้วยมารดา, ชนผู้เป็นไปเหมือนแม่, ชนผู้มีเพศแม่, หญิงชาวบ้าน, หญิง, ผู้หญิง, หญิงมนุษย์. วิ. มาตุยา คาโม วิย คาโม ยสฺสา สา มาตุคาโม. มาตา วิย คจฺฉตีติ วา มาตุคาโม. มาตุยา สมภาวํ มิสฺสีภาวญฺจ คจฺฉตีติ วา มาตุคาโม. คมุ คมเน, โณ. มาตา วิย คสตีติ วา มาตุคาโม. คสฺ อทเน, โณ, สสฺส โม. มาตา วิย คายตีติ วา มาตุคาโม. เค สทฺเท, โม. แปลง เอ เป็น อา.
  44. ยถาต : ก. วิ. เหมือน, เช่น
  45. ยาน : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องไป, วัตถุเป็นเครื่องถึง, วัตถุเป็นเครื่องนำไป, วัตถุสำหรับนำไป, เครื่องนำไป, การไป, การถึง, ยาน, ยวดยาน เช่น เรือ รถ เป็นต้น. วิ. ยาติ อเนนาติ ยานํ. ยา คติปาปุณเนสุ, ยุ.
  46. ยูถเชฏฺฐ ยูถป : (ปุ.) ชนผู้เจริญที่สุดในหมู่, ชนผู้รักษาหมู่, หัวหน้า, จ่าฝูง.
  47. รคา : (อิต.) รคา ชื่อธิดามาร ๑ ใน ๓ วิ. รญฺ ชนติ เอตายาติ รคา, รญฺชฺ ราเค, อ. ลบ ญฺ สังโยค แปลง ช เป็น ค อาอิต.
  48. รช : (ปุ.) ระดูของหญิง, ประจำเดือนของหญิง, ระดู, ประจำเดือน. วิ. รติยา ชายตีติ รโช รติปุพฺโพ, ชนฺ, ปาตุภาเว, โร. ลบ ติ และ นฺ.
  49. เวส : ป. เครื่องแต่งตัว, เพศ เช่น เพศหญิง, เพศชาย
  50. สภาคาปตฺติ : (อิต.) อาบัติเหมือนกัน, สภาคาบัติ ชื่ออาบัติที่ภิกษุต้องเหมือนกัน เช่น ต้องอาบัติปาจิตตีย์ เพราะฉันอาหารในเวลาวิกาล ท่านห้ามไม่ให้แสดงแก่กันและกัน ต้องแสดงแก่ภิกษุที่ต้องอาบัติไม่เหมือนกัน ถ้าไม่สามารถหาภิกษุเช่นนั้นได้ จะแสดงก็ได้ แต่ท่านปรับอาบัติทุกกฎ ทั้งผู้แสดงและผู้รับแสดง.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | [251-300] | 301-350 | 351-352

(0.0421 sec)