Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ชี้แนะ , then ชน, ชี้แนะ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ชี้แนะ, 352 found, display 301-350
  1. สมฺปทาน : (วิ.) เป็นที่มอบให้แห่งชน, เป็นที่อันเขามอบให้, เป็นที่มอบให้, อ้าง.
  2. สมฺมาทิฏฐ : (อิต.) ความเห็นชอบ, ความเห็นโดยชอบ. วิ. สมฺมาทสฺสนํ สมฺมาทิฏฐ. ความเห็นโดยชอบคือโดยไม่วิปริต วิ. สมฺมา อวิปริตโต ทสฺสนํ สมฺมาทิฏฐ. ปัญญาอันเห็นชอบ, ปัญญาเห็นชอบ. สมฺมาปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, ติ, ติสฺส ฏฐ, สฺโลโป. สัมาทิฆฐิ แบ่งเป็น ๒ คือ โลกิยสัมมาทิฏฐิ อย่าง ๑ โลกุตตรสัมมาทิฏฐิอย่าง ๑ อีกอย่างหนึ่ง สัมมาทิฏฐิ อย่างธรรมดา ได้แก่ ความเห็นที่ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม เช่น เห็นว่าทำดี ได้ความดี ทำชั่วได้ความชั่ว พ่อ แม่ มีบุญคุณ เป็นต้น สัมมาทิฏฐิอย่างสูง ได้แก่ความเห็นอริยสัจ ๔.
  3. สมฺมุชฺชนี สมฺมุญฺชนี : (อิต.) ไม้กวาด, ไม้กราด. วิ. วสมฺมุญฺชติ เอตายาติ สมฺมุชฺชนี สมฺมุญฺชน วา. สํปุพฺโพ, มุชิ โสธเน, ยุ, อิตุถิยํ อี.
  4. สมานวาส : (วิ.) ผู้มีการอยู่ด้วยชนเสมอกัน.
  5. สหช : (ปุ.) ชนผู้เกิดร่วมกัน พี่น้องชาย(ท้องเดียวกัน). วิ. สห ชาโต สหโช. สหปุพฺโพ, ชนฺ ปาตุภาเว, กฺวิ ส. สหช.
  6. สาลา : (อิต.) เรือน, โรง, สาลา, ศาลา คือ เรือนที่ปลูกไว้ในวัด สำหรับเป็นที่ทำบุญประชุมฟังธรรมและศึกษาเล่าเรียน หรือเป็นที่ทำการของรัฐ เช่น ศาลากลางจังหวัด ศาลากระทรวง เป็นต้น หรือที่ปลูกไว้ริมทางเพื่อเป็นที่พักของคนเดินทาง สลฺ คมเน, อ, อิตฺถิยํ อา.
  7. สุณิสา : (อิต.) หญิงสะใภ้, ลูกสะใภ้. วิ. สุณาตีติ สุณิสา (ผู้ฟังคำของผู้ใหญ่). สุ สวเน, ณีโส. สสุเรหิ สุณิตพฺพาติ สุณิสา (ผู้อันแม่ผัวและพ่อผัวพึงเบียดเบียน). สุณฺ หึสายํ, อิโส. ทฺวินฺนํ ชนานํ กุลํ สุณาตีติ สุณิสา (ผู้สืบตระกูลของชนทั้งสองฝ่าย). สุณฺ กุลสนฺ ตาเน.
  8. สุตุต สุตฺร : (นปุ.) พระพุทธวจนะ (ปาวจนา), พระสูตร ชื่อหมวด ๑ ในพระไตรปิฎก คำเต็มว่า พระสุตตันตะ. วิ.อตฺเถ อภสเวตีติ สุตฺตํ สุตรํ วา (หลั่งอรรถ). สุ อภิสเว, โต, ทวิตฺตํ, ตฺรณฺปจฺจโย วา. อตฺเถ สูเทตีติ วา สุตฺตํ สุตฺรํ. สูทฺ ปคฺฆรเณ, รสโส, ทฺโลโป. อตฺถํ สุฏฐ ตายตีติ วา สุตฺตํ สุตฺรํ (รักษาด้วยดีซึ่งอรรถรักษาอรรถไว้ดี). สุฏฐปุพฺโพ, ตา ปาลเน, อ, ฏฐโลโป. ศัพท์ต้นซ้อน ตฺ. สูตร ชื่อกฎของไวยากรณ์สำหรับใช้สร้างศัพท์ เช่น โยนํ โน การอาเทศเป็น โนแห่งโย ทฺ เป็นต้น.
  9. สุทฺท : (ปุ.) คนเพศต่ำช้า, สุททชน, ศูทร คนวรรณะที่ ๔ ในวรรณะ ๔. สทฺ สาตเน, โท, อสฺสุ. สุทติ สามิเกหิ ภตึ มคฺฆรตีติ สุทฺโท. สุท. ปคฺฆรเณ. ส. ศุทร.
  10. สูต : (ปุ.) สูตชน คือคนที่เกิดแต่กษัตริย์กับนางพราหมณีชื่อสูตะ. สุ อภิสเว, โต, ทีโฆ.
  11. เสทช : (ปุ.) สัตว์เกิดแต่เหงื่อไคล, สัตว์เกิดแต่น้ำเน่า เช่น หนอนเป็นต้น. เสทกรณตฺตา อุสฺมา เสโท, ตโต ชาตา เสทชา. เป็น สํเสทช บ้าง.
  12. เสยฺยาสน : (นปุ.) ที่นอนและที่นั่ง, ที่นอน ที่นั่ง. ไทยใช้เป็นกิริยาว่า นอน เช่น พระไสยาสน์ คือพระนอน.
  13. อ. : อ.ไม่. มาจาก น ศัพท์ ใช้หน้านามที่อักษรตัวต้นเป็นพยัญชนะต้องเปลี่ยนเป็น อ – เช่น อมนุสฺโส (น+มนุสฺโส) = ไม่ใช่มนุษย์ อปุตฺตโก (น+ปุตฺตโก)= ผู้ไม่มีบุตร ใช้หน้านามที่อักษรตัวต้นเป็นสระ ต้องเปลี่ยนเป็น อน – เช่น อนริโย (น+อริโย) = ไม่ใช่พระอริยะ ใช้หน้ากริยากิตก์ เช่น อกตฺวา (น+กตฺวา) = ไม่กระทำแล้ว อกรณีโย (น+กรณีโย) = ไม่พึงกระทำ
  14. อคฺคช : (ปุ.) บุคคลผู้เกิดก่อน, ลูกคนหัวปี, ลูกคนแรก, พี่ชาย.อคฺค บทหน้า ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ, ลบ นฺ. ส. อคฺรช.
  15. องฺคช : (ปุ.) ชนผู้เกิดในอังคชนบท, ชนผู้อยู่ในอังคะ, ลูกชาย (ผู้เกิดจากสรีระ)
  16. องฺคชาต : (นปุ.) องค์กำเนิด, องคชาต ชื่อของลับของชายและหญิง, นิมิต เครื่องหมายเพศของชายและหญิง. ส่วนมากใช้เป็นชื่อของลับของชาย แต่ในพระไตรปิฎกใช้เรียกของลับทั้งชายและหญิง. วิ.องฺค สรีเร ชายตีติ องฺคชาต. องฺคปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, โต, ชนสฺส ชาอาเทโส (แปลงชนฺเป็นชา).
  17. อช : (ปุ.) แกะ, แพะ.วิ. อชตีติ อโช. อชฺคมเน, อ. น ชายตีติ วา อโช. นปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, อ, นฺโลโป. ส. อช.
  18. อชฺชก อชฺชุก : (ปุ.) แมงลัก, อ้อยช้าง, ผักบุ้งล้อม.อชฺ คมเน, โก, ทฺวิตฺตํ (แปลงชเป็นชฺช). อชฺช ปติสชฺชนสงฺขาเรสุ วา, อุโก.
  19. อญฺญติตฺถิย : (ปุ.) ชนมีลัทธิดังท่าเป็นที่ข้ามอื่น, นิครนถ์ผู้มีลัทธิดังท่าเป็นที่ข้ามอื่น, อัญญติตถีย์, อัญญเดียรถีย์ (นักบวชนอกพระพุทธศาสนา).
  20. อฏฺฐก : (ปุ.) ประชุมแห่งชนแปด, ประชุม แห่งวัตถุแปด. วิ. อฏฺฐนฺนํ สมูโห อฏฺฐ โก. กณฺ ปัจ. สมุหตัท.
  21. อฏวีสงฺโกป : ป. ความไม่สงบในระหว่างกลุ่มชนชาวป่า
  22. อตฺตชอตฺรช : (ปุ.) ชนผู้เกิดแต่ตน, ลูกของตน.วิ. อตฺตโน ชาโต อตฺตโช อตฺรโช วา.อภิฯ แปลง ต เป็น ตฺรลบ ตฺ สังโยค. รูปฯลง ตฺรณฺ ปัจ. รูปฯ ๕๗๐ ตั้ง วิ. เป็น ปญฺจ. ตัป. ช มาจาก ชนฺ ธาตุ กวิ ปัจ.
  23. อตฺตช อตฺรช : (ปุ.) ชนผู้เกิดแต่ตน, ลูกของตน. วิ. อตฺตโน ชาโต อตฺตโช อตฺรโช วา. อภิฯ แปลง ต เป็น ตฺร ลบ ตฺ สังโยค. รูปฯ ลง ตฺรณฺ ปัจ. รูปฯ ๕๗๐ ตั้ง วิ. เป็น ปญฺจ. ตัป. ช มาจาก ชนฺ ธาตุ กวิ ปัจ.
  24. อติริตฺต : (วิ.) ยิ่ง, มากยิ่ง, เหลือ, เหลือเฟือเดน.วิ.อติริจฺจตีติอติริตฺโต.อติปุพฺโพ ริจฺสุญฺญวิโยชนสมฺปฏิจฺฉนฺนคตีสุ, โต.
  25. อนฺตกร : (ปุ.) ชนผู้กระทำซึ่งที่สุดคือช่วยให้รอดฝั่ง.
  26. อนฺเตวาสิก : (ปุ.) ชนผู้มีความอยู่ในภายในเป็นปกติ, ศิษย์, อันเตวาสิกคือผู้ที่ตนสวดให้ในคราวอุปสมบทหรือผู้ที่ตนสอนวิชาให้.วิ.อนฺเตวาสิโก.อนฺเตวาสิโกส. อนฺตวา-สินอนฺเตวาสิน.
  27. อนุจารี : (ปุ.) ชนผู้เที่ยวไปโดยลำดับโดยปกติ, ชนผู้เที่ยวไปโดยลำดับเป็นปกติ, ชนผู้มีปกติเที่ยวไปโดยลำดับ.
  28. อนุช : (ปุ.) ชนผู้เกิดในภายหลัง, น้อง, น้องชายวิ.อนุ ปจฺฉาชาโต อนุโช. อนุปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, กฺวิ. รูปฯ ๕๗๐ ใช้ ปจฺฉาแทนอนุ.วิ.ปจฺฉาชาโต อนุโช.ในคำประพันธ์ไทยตัดอออกเป็นนุช (นุต)ใช้ในความหมายว่าน้องน้องสาว หรือหญิงคู่รัก.ส. อนุช.
  29. อนุชน : (ปุ.) ชนภายหลัง, คนภายหลัง, คนรุ่นหลัง, อนุชน (คนรุ่นหลังๆ).
  30. อปโลกิต : (นปุ.) อปโลกิตะ ชื่อของพระนิพพานพระนิพพาน.วิ.นปลุชฺชนภาวํคจฺฉตีติอปโลกิตํ.
  31. อพฺภุ : อ. คำอุทาน เช่น ตายจริง !เอ้อเฮอ! น่ากลัวจริง !
  32. อภิชน : (ปุ.) ชนผู้ยิ่ง, ชนผู้สืบมาจากตระกูลสูง, อภิชน.ส.อภิชน.
  33. อมฺม, อมฺมา : ๑. อ. แน่ะแม่, ข้าแต่แม่ ; เป็นคำร้องเรียกหญิงที่สนิทกัน เช่น แม่มหาจำเริญ ; ๒. อิต. แม่
  34. อริยก : (ปุ.) อริยกะชนชาติอริยกะชื่อชนผู้เป็นต้นตระกูลของพระพุทธเจ้าซึ่งอพยพมาจากตอนเหนือข้ามภูเขามาอยู่ตอนเหนือของชม-พูทวีปคือประเทศอินเดีย (ปัจจุบันแยกออกเป็นหลายประเทศ)
  35. อารตฺต : นป. เวลา, กาล เช่น วสฺสารตฺต = ฤดูฝน
  36. อาวชฺชิตตฺต : นป. ดู อาวชฺชน
  37. อาหจฺจ : (ปุ.) การจรด (เอาของมาชนกัน), การชน, การชนกัน. อาปุพฺโพ, หรฺ หรเณ, โจ, จสฺส จฺโจ, รฺโลโป. หรือลง ริจฺจ ปัจ. ลบ รฺ และ ริ.
  38. อิทฺธิพล : (นปุ.) กำลังแห่งความสำเร็จ, กำลัง อันยังผลให้สำเร็จ, อิทธิพล (กำลังอำนาจ). คำอิทธิพล ไทยใช้ทั้งในทางดีและทางเสีย ทางดี เช่น อิทธิพลของดวงดาว ทางเสีย เช่น ใช้อิทธิพลบังคับให้ยินยอม.
  39. อิว : (อัพ. นิบาต) ราวกะ, เพียงดัง, เหมือน, เช่น, ดุจ, ประหนึ่ง.
  40. อิสฺสรภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งชนผู้เป็นใหญ่, ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่, ความเป็น ใหญ่, อิสสรภาพ อิสรภาพ (ความเป็น ใหญ่ในตัวเอง ความไม่ขึ้นแก่ใคร).
  41. อุกฺกา : (อิต.) คบ (ของใช้สำหรับจุดไฟให้ สว่าง ทำด้วยของต่าง ๆ เช่น กาบมะพร้าว ชุบน้ำมันยาง เป็นต้น), คบเพลิง, คบไฟ, เบ้า, เตาไฟของช่างโลหะ, เตาถ่านสำหรับ หลอมโลหะ, เตา, เตาถ่าน, เตาตีเหล็ก, โคม, ประทีป, ตะเกียง, กำลังแห่งลม, ความเร็วของลม. วิ. อุสตีติ อุกฺกา. อุสุ ทาเห, โก. ส. อุกฺกา.
  42. อุทฺเทสิกเจติย : (นปุ.) อุทเทสิกเจดีย์ เจดีย์ที่ สร้างขึ้นโดยเจตนาให้เป็นปูชนียวัตถุแทน องค์พระพุทธเจ้า เช่น พระพุทธรูป.
  43. อุปชฺฌายาทิวตฺต : (นปุ.) วัตรอัน...พึงประพฤติ โดยชอบในอุปการชน มีพระอุปัชฌาย์ เป็นต้น. มี วิ. ตามลำดับดังนี้.- ฉ. ตุล. อุปชฺฌาโย อาทิ เยสํ เต อุปชฺฌา- ยาทโย (อุปการชนา) วิเสสนปุพ. กัม. อุปชฺฌาทโย อุปการชนา อุปชฺฌายาทิอุปการชนา. ส. ตัป. อุปชฺฌายาทิอุปการชเนสุ สมฺมา- จริตพฺพํ วตฺตํ อุปชฺฌายาทิวตฺตํ. วัตรมีวัตรเพื่อพระอุปัชฌาย์ เป็นต้น มี วิ. ดังนี้.- จ. ตัป. อุปชฺฌายสฺส วตฺตํ อุปชฺฌายวตฺตํ. ฉ. ตุล. อุปชฺฌายวตฺตํ อาทิ เยสํ ตานิ อุปชฺฌายาทีนิ (วตฺตานิ). วิเสสนบุพ. กัม. อุปชฺฌายาทีนิ วตฺตานิ อุปชฺฌายาทิวตฺตานิ.
  44. อุปถจารี : (ปุ.) ชนผู้ประพฤติผิดทางโดยปกติ, ชนผู้มีปกติประพฤติผิดทาง, คนมีการประพฤติผิดทางเป็นปกติ.
  45. อุปฺปาฏก : ป. ตัวแมลง, สัตว์ที่นำโทษมาให้ เช่น หนู เป็นต้น
  46. อุภโตพฺยญฺชนก : (วิ.) มีเพศสองอย่าง คือทั้ง เพศชาย และเพศหญิงอยู่ในบุคคลคนเดียว กัน. วิ. อุภโตพฺยญฺชน มสฺส อตฺถีติ อุภโตพฺยญฺชน โก. ก สกัด ฉ. ภินนาธิกรณพหุพ. อุภโต ปวตฺตํ พฺยญชนํ ยสฺสอตฺถีติ อุภโตพฺยญชนโก. ไตร. ๔ / ๑๘๐.
  47. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  48. เอกชฺฌสมาทาน : (นปุ.) การถือเอาด้วยดี เป็นอันเดียวกัน, ฯลฯ, การสมาทานรวม กัน. การสมาทานมี ๒ อย่าง คือ สมาทาน แยกเป็นข้อ ๆ เรียกว่า ปัจเจกสมาทาน อย่างหนึ่ง การสมาทานรวมกัน เช่น กล่าวว่า พุทฺธปญฺญ ตฺตํ อุโปสถํ สมาทิยามิ. เรียกว่า เอกชฺฌสมาทาน อย่างหนึ่ง. ผู้สมา ทานล่วงสิกขาบทใดบทหนึ่ง เป็นอันขาด หมดทุกสิกขาบท (ศีลขาดหมดทุกข้อ).
  49. โอกจร : ค. ผู้อาศัยอยู่ในเรือน, ผู้อยู่ในน้ำ, ผู้เที่ยวไปในน้ำ เช่น ปลา เป็นต้น
  50. โอช : (วิ.) รุ่งเรือง, สว่าง, ส่องสว่าง, สวยงาม, กระจ่าง, ขาว, มีกำลัง, อร่อย, ดี (รส...), โอชฺ ทิตฺติยํ, อ. อุปุพฺโพ วา, ชนฺ ชนเน.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | [301-350] | 351-352

(0.0387 sec)