Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แน่ะ , then แน่, แน่ะ .

Eng-Thai Lexitron Dict : แน่ะ, more than 7 found, display 1-7
  1. erratic : (ADJ) ; ไม่แน่ไม่นอน ; Related:เอาแน่เอานอนไม่ได้ ; Syn:inconsistent, uncertain, unpredictable
  2. resolve : (VT) ; ตัดสินใจแน่วแน่ ; Related:ตกลงใจแน่วแน่ ; Syn:intend, purpose
  3. adamant : (ADJ) ; แน่วแน่ ; Related:ใจแข็ง, ยืนกราน ; Syn:inflexible
  4. all right : (SL) ; ใช่แน่ ; Related:แน่นอน
  5. bent 1 : (ADJ) ; แน่วแน่ ; Related:จริงจัง
  6. determine : (VT) ; ค้นความจริงอย่างแน่วแน่ ; Related:มุ่งมั่นค้นหา ; Syn:ascertain, find out, learn
  7. erratic : (N) ; คนที่เอาแน่ไม่ได้
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : แน่ะ, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : แน่ะ, more than 7 found, display 1-7
  1. แน่ะ : (END) ; word used at the end ; Related:to confirm the exact place ; Def:คำลงท้ายเพื่อแสดงการบอก ; Samp:คุณแม่คอยอยู่ข้างในแน่ะ
  2. เออแน่ะ : (INT) ; eh! ; Def:คำที่เปล่งออกมาแสดงความพิศวงว่า ไม่น่าจะเป็นอย่างนั้น ; Samp:เออแน่ะ ไม่นึกเลยว่าเขาจะปลิ้นปล้อนขนาดนี้
  3. ดูกร : (INT) ; Look here! ; Related:Here me! ; Syn:ดูก่อน, ดูรา, ดูซิ, ดูแน่ะ
  4. ดูก่อน : (INT) ; Look here! ; Related:Here me! ; Syn:ดูกร, ดูรา, ดูซิ, ดูแน่ะ
  5. ดูรา : (INT) ; look you! ; Related:look hear, hear me, listen to me ; Syn:ดูกร, ดูก่อน, ดูซิ, ดูแน่ะ
  6. แน่เทียว : (ADV) ; surely ; Related:certainly, undoubtedly, definitely ; Syn:แน่ๆ, แน่ ; Samp:นักมวยคู่นี้คงสมยอมกันแน่เทียวก่อนจะเข้าสู่สังเวียน
  7. แน่นิ่ง : (V) ; be unconscious ; Related:still, be motionless ; Syn:ไม่ไหวติง, นิ่งแน่ ; Def:ไม่ขยับเขยื้อนร่างกายเลยเพราะหมดสติ ; Samp:เธอแน่นิ่งไปหลายชั่วโมงกว่าจะได้สติคืนมา
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : แน่ะ, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : แน่ะ, more than 5 found, display 1-5
  1. แน่ะ : ว. คําทักหรือบอกให้รู้ตัว เช่น แน่ะอยู่นี่เอง แน่ะรถมาแล้ว; ใช้ประกอบ คําลงท้ายเพื่อเน้นความ เช่น ราคาตั้ง ๕ บาทแน่ะ.
  2. เออแน่ะ : อ. คําที่เปล่งออกมาแสดงความพิศวงว่า ไม่น่าจะเป็น อย่างนั้น.
  3. แน่ ๒, แน่นิ่ง : ว. อาการที่ไม่ไหวติงไปชั่วระยะหนึ่งเพราะเป็นลมเป็นต้น, นิ่งแน่ ก็ว่า.
  4. นี่ : ส. คําใช้แทนนามที่อ้างถึงบุคคลหรือสิ่งที่อยู่ใกล้ เช่น นี่ใคร นี่อะไร. ว. คําใช้ประกอบคํานามหรือกริยาให้รู้ว่าอยู่ใกล้หรือชี้เฉพาะ เช่น หนังสือนี่แต่งดี ขนมนี่อร่อย อยู่นี่ มานี่; คําประกอบท้ายคําเพื่อเน้น ความหมาย เช่น เดี๋ยวเฆี่ยนเสียนี่. นี่แน่ะ คําบอกให้ดูหรือเตือนให้รู้, นี่ ก็ว่า. นี่แหละ คําแสดงการเน้นให้หนักแน่นยิ่งขึ้น เช่น ฉันนี่แหละ นี่แหละ โลก. นี่เอง คําประกอบคําอื่นแสดงการเน้นให้หนักแน่นยิ่งขึ้น เช่น เธอนี่เอง เด็กคนนี้นี่เอง.
  5. แน่ ๑ : ว. แท้, จริง, ไม่เป็นอื่น, เช่น ทําแน่ ไปแน่; เก่ง, มีฝีมือดี, เช่น คนนี้ มือแน่มาก.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : แน่ะ, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : แน่ะ, more than 5 found, display 1-5
  1. กรวดน้ำ : ตั้งใจอุทิศบุญกุศลให้แก่ผู้ล่วงลับ พร้อมไปกับหลั่งรินน้ำเป็นเครื่องหมาย และเป็นเครื่องรวมกระแสจิตที่ตั้งใจอุทิศนั้นให้แน่วแน่; เริ่มรินน้ำเมื่อพระองค์หัวหน้าเริ่มสวดยถา รินน้ำหมดพร้อมกับพระหัวหน้าสวดยถาจบ และพระทั้งหมดเริ่มสวดพร้อมกัน จากนั้นวางที่กรวดน้ำลงแล้วประนมมือรับพรต่อไป; คำกรวดน้ำอย่างสั้นว่า อิทัง โน ญาตีนัง โหตุ ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่....(ออกชื่อผู้ล่วงลับ) และญาติทั้งหลายของข้าพเจ้าเถิด จะต่ออีกก็ได้ว่า สุขิตา โหนตุ ญาตโย ขอญาติทั้งหลายจงเป็นสุขเถิด - to pour the water of dedication (to transfer merit to other beings)
  2. ฌาน : การเพ่งอารมณ์จนใจแน่วแน่ เป็นอัปปนาสมาธิ, ภาวะจิตสงบประณีต ซึ่งมีสมาธิเป็นองค์ธรรมหลัก; ฌาน ๔ คือ ๑.ปฐมฌาน มีองค์ ๕ (วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา) ๒.ทุติยฌาน มีองค์ ๓ (ปีติ สุข เอกัคคตา) ๓.ตติยฌาน มีองค์ ๒ (สุข เอกัคคตา) ๔.จตุตถฌาน มีองค์ ๒ (อุเบกขา เอกัคคตา); ฌาน ๕ ก็เหมือนอย่าง ฌาน ๔ นั่นเอง แต่ตามแบบอภิธรรม ท่านซอยละเอียดออกไป โดยเพิ่มข้อ ๒ แทรกเข้ามา คือ ๑.ปฐมฌาน มีองค์ ๕ (วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา) ๒.ทุติยฌาน มีองค์ ๔ (วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา) ข้อ ๓.๔.๕.ตรงกับ ข้อ ๒.๓.๔.ในฌาน ๔ ตามลำดับ
  3. ภาวนา : การทำให้มีขึ้นเป็นขึ้น, การทำให้เกิดขึ้น, การเจริญ, การบำเพ็ญ 1.การฝึกอบรม ตามหลักพระพุทธศาสนา มี ๒ อย่าง คือ ๑.สมถภาวนา ฝึกอบรมจิตให้เกิดความสงบ ๒.วิปัสสนาภาวนา ฝึกอบรมปัญญาให้เกิดความรู้เข้าใจตามเป็นจริง, อีกนัยหนึ่ง จัดเป็น ๒ เหมือนกันคือ ๑.จิตตภาวนา การฝึกอบรมจิตใจให้เจริญงอกงามด้วยคุณธรรม มีความเข้มแข็งมั่นคง เบิกบาน สงบสุขผ่องใส พร้อมด้วยความเพียร สติ และสมาธิ ๒.ปัญญาภาวนา การฝึกอบรมเจริญปัญญา ให้รู้เท่าทันเข้าใจสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง จนมีจิตใจเป็นอิสระ ไม่ถูกครอบงำด้วยกิเลสและความทุกข์ 2.การเจริญสมถกรรมฐานเพื่อให้เกิดสมาธิ มี ๓ ขั้น คือ ๑.บริกรรมภาวนา ภาวนาขั้นตระเตรียม คือกำหนดอารมณ์กรรมฐาน ๒.อุปจารภาวนา ภาวนาขั้นจวนเจียน คือเกิดอุปจารสมาธิ ๓.อัปปนาภาวนา ภาวนาขั้นแน่วแน่ คือเกิดอัปปนาสมาธิเข้าถึงฌาน 3.ในภาษาไทย ความหมายเลือนมาเป็น การท่องบ่นหรือว่าซ้ำๆ ให้ขลัง ก็มี
  4. เยวาปนกธรรม : “ก็หรือว่าธรรมแม้อื่นใด” หมายถึงธรรมจำพวกที่กำหนดแน่ไม่ได้ว่าข้อไหนจะเกิดขึ้น ได้แก่ เจตสิก ๑๖ เป็นพวกที่เกิดในกุศลจิต ๙ คือ ๑.ฉันทะ ๒.อธิโมกข์ ๓.มนสิการ ๔.อุเบกขา (ตัตรมัชฌัตตตา) ๕.กรุณา ๖.มุทิตา ๗.สัมมาวาจา (วจีทุจริตวิรัติ) ๘.สมมากันมันตะ (กายทุจริตวิรัติ) ๙.สัมมาอาชีวะ (มิจฉาชีววิรัติ) เป็นพวกที่เกิดในอกุศลจิต ๑๐ คือ ๑.ฉันทะ ๒.อธิโมกข์ ๓.มนสิการ ๔.มานะ ๕.อิสสา ๖.มัจฉริยะ ๗.ถีนะ ๘.มิทธะ ๙.อุทธัจจะ ๑๐.กุกกุจจะ นับเฉพาะที่ไม่ซ้ำ (คือเว้น ๓ ข้อแรก) เป็น ๑๖
  5. สมถภาวนา : การเจริญสมถกัมมัฏฐานทำจิตให้แน่วแน่เป็นสมาธิ ดู ภาวนา
  6. Budhism Thai-Thai Dict : แน่ะ, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : แน่ะ, more than 5 found, display 1-5
  1. อาวุโส : (อัพ. นิบาต) แน่ะท่านผู้มีอายุ, แน่ะ ผู้มีอายุ, ดูกรท่านผู้มีอายุ, ดูก่อนท่านผู้มี อายุ, ท่านผู้มีอายุ, คุณ. เป็นคำสำหรับ นักบวชเรียกนักบวช ผู้มีพรรษาอ่อนกว่า หรือสำหรับนักบวชพูดกับชาวบ้านก็ได้ แปลว่า จ๊ะ เจริญพร ขอเจริญพร. แปลว่า ขอรับ. ก็ได้. พูดกับผู้ชายแปลว่า พ่อ พูดกับผู้หญิง แปลว่า แม่. ส. อายุษมตฺ.
  2. ภทฺเท : อ. แน่ะ, ดูกร, ข้าแต่นางผู้เจริญ
  3. โภติ : อ. แน่ะนางผู้เจริญ, แม่จำเริญ
  4. หเร : (อัพ. นิบาต) เฮ้ย, แน่ะคนร้าย.
  5. อมฺโภ : (อัพ. นิบาต) พ่อเฮ้ย, ผู้เจริญ, แน่ะผู้เจริญ.ใช้ได้ทั้งเอก.และพหุ.ใช้เรียกเฉพาะผู้ชาย.เอกวจนปุถุวจนวเสนปุริสานํอามนฺตเน.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : แน่ะ, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : แน่ะ, not found

(0.1452 sec)