Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กาล , then กาล, กาละ, กาลา, กาฬ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กาล, 265 found, display 1-50
  1. กาล : (ปุ.) สภาพผู้บั่นทอนคือ ยังชีวิตของสัตว์ ให้สิ้นไป วิ. สตฺตานํ อายุ กลยติ เขเปตีติ กาโล. กลฺ เขเป, โณ. สภาพผู้ทำชีวิตของสัตว์ให้น้อยลง ๆ ทุกวัน ๆ วิ. สตฺตานํ ชีวิตํ ทิวเส ทิวเส อปฺปํ อปฺปํ กโรตีติ กาโล. กรฺ กรเณ, โณ, รสฺส ลตฺตํ. อายุ, ยุค, กาล, สมัย, ครั้ง, คราว, หน, เวลา, การนับ, การคำนวณ. วิ. กลฺยเต อายุปฺปมาณาทโย อเนนาติ กาโล. กลฺ สํขฺยาเณ, โณ, การทำ วิ. กรณํ กาโร, โส เอว กาโล. อภิฯ. รูปฯ วิ. กรณํ กาโล. แปลง ร เป็น ล. ส. กาล.
  2. กาล กาฬ : (วิ.) ดำ.
  3. กาล (ปฺ) ปเวทน : นป. การบอกเวลา, การแพร่ข่าว, การตาย
  4. กาลกณฺณี กาฬกณฺณี : (อิต.) เสนียด, จัญไร, อัปมงคล, กาลกิณี, กาฬกัณณี.
  5. กาลกฺขนธ กาฬกฺขนฺธ : (ปุ.) มะพลับ.
  6. กาลสีห กาฬสีห : (ปุ.) ราชสีห์มีสีดำ, ราชสีห์ ดำ, ค่าง, แรด, หมี.
  7. กาลหส กาฬหส : (ปุ.) หงส์ดำ, นกทิ้งทูด, นกเค้าโมง, นกกลิง, นกกาน้ำ.
  8. กาล : (อัพ. นิบาต) ในกาล.
  9. กาลกต : (วิ.) ผู้อันความตายทำแล้ว, ผู้อัน ความตายคือ มัจจุทำแล้วคือให้พินาศแล้ว วิ. กาเลน มจฺจุนา กโต นาสิโต กาลกโต. ผู้มีกาละอันทำแล้ว, (ตายแล้วสิ้นชีพแล้ว), มรณะ, มรณภาพ, สิ้นพระชนม์, ฯลฯ.
  10. กาลคต : กิต. ดู กาลกต
  11. กาลจฺจย : (ปุ.) สมัยอันเป็นไปล่วงแห่งกาล, ความเป็นไปล่วงแห่งกาล, กาลอันเป็น ไปล่วง.
  12. กาลจีวร : (นปุ.) ผ้าเกิดในกาล, กาลจีวร คือ ผ้าที่เกิดขึ้นแก่ภิกษุ ในกาลที่ทรงอนุญาต ตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงกลาง เดือน ๑๒ ถ้าได้กรานกฐินเลื่อนไปถึง กลางเดือน ๔.
  13. กาลญฺญุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ จักกาล. กาลญฺญู+ตา ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ ในเพราะตาปัจ.
  14. กาลญฺญู : (วิ.) ผู้รู้กาล, ผู้รู้จักกาล. วิ. กาลํ ชานาตีติ กาลญฺญู. ผู้รู้จักกาลโดยปกติ วิ. กาลํ ชานาติ สีเลนาติ กาลญฺญู. รู ปัจ. แปลง และ วิ. ได้อีก ดู ธมฺมจารี.
  15. กาลเทส : (ปุ.) เวลาและท้องถิ่น, เวลาและ ถิ่นที่, เวลาและสถานที่, คราวและที่, กาลเทสะ กาลเทศะ คือการทำที่เหมาะ ควรแก่เวลาและสถานที่ การรู้จักเวลาและ สถานที่ การรู้จักคราวควรและไม่ควร.
  16. กาลวณ : (นปุ.) เกลือ, เกลือน้อย. วิ. กุ อปฺปกํ ลวณํ กาลวณํ. แปลง กุ เป็น กา กัจฯ ๓๓๖ รูปฯ ๓๓๒ โมคฯ สมาส กัณฑ์ ๑๐๘.
  17. กาลวาณี : (ปุ.) คนพูดถูกเวลา, คนพูดถูกกาล เวลา.
  18. กาลวิปสฺสี : ค. ผู้มีปกติเห็นกาลเวลาอย่างแจ้งชัด
  19. กาลวิเสส : (ปุ.) กาลวิเศษ, กาลพิเศษ.
  20. กาลสมุฏฺฐ าน : (นปุ.) การตั้งขึ้นพร้อมแห่ง กาล, กาลสมุฏฐาน กาลสมุตถาน เรียกโรค ที่เกิดขึ้นเพราะธาตุไม่เป็นไปตามปกติ.
  21. กาลกณฺณิ กาลกณฺณี : (ปุ.) คนมีหูดำ, คน ทำนิสัยของตนเหมือนสิ่งที่มีวรรณะดำ, คนกาลกรรณี, คนกาลกิณี.
  22. กาลกณฺณี : ป. คนชั่วช้า, คนจัญไร
  23. กาลกูฏ : ป. ยอดเขาหิมาลัยยอดหนึ่ง, ยาพิษชนิดหนึ่ง
  24. กาลจกฺก : นป. นาฬิกา
  25. กาลโภชน : นป. การบริโภคตามเวลา
  26. กาลวาที : ค. ผู้พูดตามเวลา
  27. กาลเวลฺล : (ปุ.) ผักโหม.
  28. กาลสต : นป. ร้อยชาติ, ร้อยครั้ง
  29. จีวรกาล : (ปุ.) คราวเป็นที่ถวายซึ่งจีวร, กาล เป็นที่ถวายจีวรของทายกทายิกา, คราว ที่เป็นฤดูถวายจีวร, จีวรกาล.จีวรกาล(ระยะ เวลาถวายผ้า) มีกำหนดตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ถ้าภิกษุได้ กรานกฐิน ก็เลื่อนไปถึงกลางเดือน ๔ และ เป็นเวลาที่ภิกษุเปลี่ยนไตรจีวรด้วย.
  30. ธมฺมสวนกาล ธมฺมสฺสวนกาล : (ปุ.) กาล เป็นที่ฟังซึ่งธรรม, กาลเป็นที่ฟังธรรม, เวลาเป็นที่ฟังธรรม.
  31. กาลี กาฬี : (วิ.) มีวรรณะดำ, เสนียด, จัญไร.
  32. กาลนฺตร : นป. ระหว่างกาลเวลา, กาล, สมัย
  33. กุสลกมฺมปติฏฐากรณกาล : (ปุ.) กาลเป็นที่ทำ ซึ่งที่พึ่งคือกรรมอันเป็นกุศล. เป็น วิเสสนปุพ. กัม. มี วิเสสนบุพ. กัม. อวกัม. และ ทุ. ตัป. เป็นท้อง.
  34. ขลกาล : ป.ฤดูนวดข้าว, กาลนวดข้าว
  35. ขลภณฺฑกาล : (ปุ.) กาลเป็นที่ทำซึ่งลอมในลาน, กาลเป็นที่กระทำซึ่งข้าวเป็นต้นให้เป็นลอม ในลาน. ลอม คือ การตะล่อมของให้สูง ขึ้นเป็นจอม.
  36. จิรฏฺฐติกาล : (ปุ.) กาลอันตั้งอยู่นาน, ฯลฯ.
  37. จีวรกาลสมย : ป. สมัยจีวรกาล, คราวที่ทรงอนุญาตให้ (พระภิกษุสงฆ์) รับจีวรได้
  38. ชรกาล : (ปุ.) กาลแห่ง...เป็นคนแก่, ฯลฯ.
  39. ฐิติกาล : (ปุ.) กาลตั้งอยู่, กาลมั่นคง, ฯลฯ.
  40. ตกฺกาล : (ปุ.) กาลนั้น
  41. ตรุณกาล : (ปุ.) กาลแห่ง....เป็นหนุ่ม, ฯลฯ
  42. พุทฺธกาล : (ปุ.) กาลแห่งพระพุทธเจ้า, เวลาที่พระพุทธเจ้ายังทรงพระชนม์อยู่.
  43. พุทฺธปฺปาท พุทฺธุปฺปาทกาล : (ปุ.) กาลเป็นที่บังเกิดแห่งพระพุทธเจ้า, เวลาที่พระพุทธเจ้าเกิดขึ้นในโลก (โลกยุคมีพระพุทธเจ้า).
  44. มชฺฌิมโพธิกาล : (ปุ.) กาลเป็นที่ตรัสรู้มีในท่ามกลาง, มัชฌิมโพธิกาล คือกาลเป็นไประหว่างปฐมโพธิกาลและปัจฉิมโพธิกาลได้แก่ เรื่องพระพุทธประวัติระหว่างปฐมโพธิกาลและปัจฉิมโพธิกาล.
  45. มหลฺลกาล มหลฺลกกาล : (ปุ.) กาลแห่ง...เป็น...แก่.
  46. มหากาล : (ปุ.) กาลใหญ่, นายมหากาล ชื่อ กุฏุมพี.
  47. ยถากาล : ป. เวลาที่เหมาะสม, กาลอันสมควร
  48. ยถากาล : ก. วิ. ในเวลาอันเหมาะสม, ตามกาล
  49. สมย : (ปุ.) ขณะ, ครั้ง, ครา, คราว, หน, กาล, เวลา, ฤดู, โอกาส. วิ. สํ ปุนปฺปุนํ เอติ อยติ วาติ สมโย. สํปุพฺโพ, อิ อยฺ วา คติยํ, อ. การได้, การถึง, การเห็น, ความเห็น, ลัทธิ, มติ, ทิฏฐิ, ความพร้อมเพรียง, ความพร้อมเพรียงแห่งเหตุ, การณะ, เหตุการประชุม, หมวด, หมู่, กอง, คณะ. วิ. สมนฺตโต อยนํ คติ สมโย. การแทงตลอด, ฯลฯ. วิ. สํสุฎชุ สมฺมา วา อวิปริตากาเรน อยิตพฺโพ ญาตพฺโพติ สมโย. การละ, การสละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง. ส. สมย.
  50. สุริยตฺถงฺคมนกาล : (ปุ.) กาลอันถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้แห่งพระอาทิตย์, กาลเป็นที่อัสดงคนแห่งพระอาทิตย์. วิ สุริโย อตฺถํ คจฺฉติ เอตฺถาติ สุริยตฺถงฺคมโน (กาโล). ยุ ปัจ. นามกิตก์. สุริยตฺถงฺ คมโน จ โส กาโล จาติ สุริยตฺถงฺคมนกาโส. วิเสสนบุพ. กัม.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-265

(0.0680 sec)