Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: คน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : คน, 870 found, display 1-50
  1. ชน : (ปุ.) สัตว์, คน, ชน ( ผู้ยังกุศลและอกุศล ให้เกิด ). วิ. กุสลากุสลํ ชเนตีติ ชโน. ชนฺ ชนเน, อ. ส. ชน.
  2. ชีว : (ปุ.) อาตมะ, อาตมัน, พระพฤหัสบดี, สัตว์, ชน, คน, ความเป็นอยู่, ความมีชีวิต อยู่, ความเกิด, ชีพ (ความเป็นอยู่). ชีวฺ ปาณธารเณ, อ. ส. ชีว.
  3. ปภุ : (ปุ.) ชน, คน, บุคคล. ปปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, อ. รัสสะ อู เป็น อุ.
  4. ปุม : (ปุ.) ชาย, คน, คนผู้ชาย, บุรุษ. วิ. ปุนาตีติ ปุมา. ปุ ปวเน, โม.
  5. ปุริส : (ปุ.) ชาย, ผู้ชาย (ชาย), บุรุษ, คน, อาตมะ, มานพ, อาตมัน, จิต. วิ. อตฺตโน มาตาปิตูนํ หทยํ ปูเรตีติ ปุริโส (ผู้ยังหทัยของมารดาและบิดาของตนให้เต็ม). ปุรฺ ปูรฺ วา ปูรเณ, อิโส. ถ้าตั้ง ปูรฺ ธาตุ พึงรัสสะ อู เป็น อุ. ปุ นิรยํ ริสตีติ ปุริโส (ผู้กำจัดนรก). เป็นความเชื่อของพราหมณ์ว่าลูกชายจะกำจัด คือป้องกันไม่ให้พ่อแม่ตกนรก. ปุ บทหน้า ริสฺธาตุในความกำจัด อ ปัจ. ปุริ อุจฺเจ ฐาเน เสตีติ ปุริโส (ผู้ดำเนินไปในฐานะสูง). ปุริปุพฺโพ, สิคติยํ, อ. อตฺตโน มาตาปิตูนํ มโนรถํ ปุเรตีติ ปุริโส.
  6. โปส : (ปุ.) สัตว์, มนุษย์, บุคคล, บุทคล, คน, บุรุษ, ชาย, ผู้ชาย. ปุสฺ โปสเน, โณ. ปุรฺ ปูรเณ วา, โส, อุสฺโสตฺตํ, รฺโลโป.
  7. มจฺจ : (ปุ.) สัตว์มีอันจะพึงตายเป็นสภาพ, สัตว์มีความที่แห่งตนจะพึงตายเป็นสภาพ, ชาย, บุคคล, คน, สัตว์. วิ. ปริตพฺพสภาว-ตาย มจฺโจ. มรติ วา มจฺ-โจ. มรฺ ปาณจาเค, โจ. ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือ ลง ตฺย ปัจ. แปลงเป็น จ ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือ แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  8. มานว : (ปุ.) ชาย, ผ้ชาย, คน, บุคคล. วิ. มนุโน อปจฺจํ มานโว. ณว ปัจ. รูปฯ ๓๕๖.
  9. มานุส : (ปุ.) เหล่ากอของพระมนู, ลูกหลานของพระมนู, คน, ชาย, ผู้ชาย. วิ. มนุโน อปจฺจํ มานุโส. ณ ปัจ. โคตตตัท. สฺ อาคม รูปฯ ๓๕๖.
  10. อาลิงฺคณ อาลิงฺคน : (นปุ.) การสวมกอด, การเคล้าคลึง, การอิงแอบ, ความสวมกอด, ฯลฯ. วิ. อาลิงฺคียเตติ อาลิงฺคณํ อาลิงคนํ วา. อาปุพฺโพ, ลิงฺคฺ คมเน, ยุ. ส. อาลิงฺคน.
  11. อาวิญฺชติ : ก. กวน, คน; เวียน, ชัก, ดึง, แกว่ง
  12. กจงฺคน : นป. ตลาดเสรี
  13. กตสรีรปฏิชคฺคน : (วิ.) ผู้มีการประคับประคองซึ่ง สรีระอันทำแล้ว.
  14. คนคามี : ค. ผู้ไปในท้องฟ้า (นก)
  15. คินิ : (ปุ.) คินิ ชื่อไฟชื่อ ๑ ใน ๑๘ ชื่อ, ไฟ. วิ. โค รํสิ เอตสฺสาตฺถีติ คินิ. ค ศัพท์ อินิ ปัจ.อภิฯ. บางมติว่ามาจาก อคฺคินิ ตัด อคฺ ออก.
  16. ชคฺคน : (นปุ.) การกวาด, การเช็ด, การถู, การทำความสะอาด. มชฺชฺ สํสุทฺธิยํ, ยุ. แปลง ม เป็น ค แล้วแปลง ค เป็น ช แปลง ชฺช ท้ายธาตุเป็น คฺค แปลง ยุ เป็น อน.
  17. ตงฺคน : (นปุ.) การไป, การถึง, การเป็นไป. ตคิ คติยํ อ. ยุ.
  18. ปฏิชคฺคน : นป. การปฏิบัติ, การบำรุง, การดูแล, การเลี้ยงดู, การซ่อมแซม
  19. มคฺคน : (นปุ.) การเลือกเฟ้น, การค้นหา, การเสาะหา, การแสวงหา.
  20. ลคฺคน : นป. การข้อง, การยึด, การเกาะ
  21. อลคฺคน : นป. ความไม่ติดข้อง
  22. อาลิงฺคน : นป. การสวมกอด, การเคล้าคลึง
  23. กาลกณฺณิ กาลกณฺณี : (ปุ.) คนมีหูดำ, คน ทำนิสัยของตนเหมือนสิ่งที่มีวรรณะดำ, คนกาลกรรณี, คนกาลกิณี.
  24. ฆณฺฑก : (ปุ.) คนสั่นกระดิ่ง, คนตีระฆัง, คน เคาะระฆัง. ฆฑิ ธาตุ ณฺวุ ปัจ.
  25. ฆาวก : (ปุ.) คนผู้ประกาศ, คนผู้ป่าวร้อง, คน ผู้โฆษณา. ฆุ สทฺเท, ณฺวุ.
  26. ตปสี ตปสฺสี : (ปุ.) คนมีความเพียรเผาบาป, คน มีตบะ, ภิกษุ. วิ. สี ปัจ. ศัพท์หลังแปลง สี เป็น สฺสี อิต. ตปสฺสินี นปุ. เป็น ตปสฺสิ.
  27. นิลญจก นิลญฉก : (ปุ.) คมผู้หมายลง, คน ประทับตา, คนผู้ทำรูป, คนผู้ทำรูปสัตว์. นิปุพฺโพ, ลญจฺ ลญฉฺ ลกฺขเณ, อ, สกตฺเถ โก.
  28. องฺคุ องฺคู : (ปุ.) คนมีอวัยวะบกพร่อง, คน เปลี้ย, คนง่อย. องฺคปุพฺโพ, อูนฺปริหานิเย, กฺวิ, นฺโลโป. ศัพท์ต้นรัสสะ.
  29. อุตฺตร : (วิ.) ยิ่ง, กว่า, ประเสริฐ, สูงสุด (อุตตโร อุตฺตมสทิโส), แข้น (พ้นจาก แห้งจวนแข็ง หรือหมายถึงแข็งก็ได้), กล้าแข็ง, กวน, คน (กวนของให้กระจาย หรือให้เข้ากัน), คม (ไม่ทื่อ), ต่อไป, ซ้าย, เหนือ, หลัง, บน, เบื้องบน, ข้างบน, พ้น, อื่น.
  30. : (ปุ.) พรหม อุ. กโมฬิ, กาย อุ. กํ อตฺตานํ, ลม อุ. กํ วาตํ, ชาย (คน) อุ. กํ ปุริสํ, นกยูง อุ. โก มยูโร, ความรุ่งเรือง อุ. โก โชติ.
  31. กท : (วิ.) ผู้ให้ตน วิ. กํ เทตีติ กโท (คน ประมาท).
  32. กิปุริส กิมฺปุริส : (ปุ.) บุรุษหรือ, คนหรือ. กึ + ปุริส. บุรุษน่าเกลียด, คนน่าเกลียด. กุจฺฉิต+ปุริส. สัตว์คล้ายบุรุษ, สัตว์คล้าย คน. กิ+ปุริส. ศัพท์หลังลง นิคคหิตอาคม. บุรุษอะไร ๆ วิ. กิญฺจิ ปุริโส กิมฺปุริโส. ดู กินฺนร ด้วย.
  33. ฉินฺนิริยาปถ : (วิ.) ผู้มีอิริยาบถอันขาดแล้ว (คน เปลี้ย), ผู้มีอิริยาบถคืออันไปเป็นต้น อัน ขาดแล้ว. วิ. ฉินฺโน คมนาทิริยาปโถ โส ฉินฺนิริยาปโถ.
  34. ตณหา : (อิต.) นางตัณหา ชื่อธิดามาร ๑ ใน ๓ คน วิ. โย ตํ ปสฺสติ ตํ ตสิตํ กโรตีติ ตณฺหา. ตสฺ นิปาสายํ ณฺห สโลโป, อิตฺถิยํ อา.
  35. ธว : (ปุ.) ผัว, ต้นไม้, ไม้ตะแบก. ธุ กมฺปเน, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. ธว คน ชาย ผัว.
  36. นาม : (นปุ.) ความน้อนไป, ความน้อมไปใน อารมณ์ทั้ง ๖, ชื่อ, นาม คือคำชนิดหนึ่ง ในไวยากรณ์ สำหรับเรียก คน สัตว์ ที่ และสิ่งของต่างๆ หรือชื่อของสิ่งที่มิใช่รูป คือจิตและเจตสิก เรียกว่านามธรรมหรือ อรูปธรรม ซึ่งเป็นคู่กับ รูปธรรม. วิ. นมฺยเต อตฺถยเต อตฺถยสฺวิติ นามํ. นาเมหิ นามยตีติ วา นามํ. ส. นามนฺ.
  37. นิยามก : (ปุ.) คนขับรถ, คนถือท้ายเรือ, นาย ท้าย, นายท้ายเรือ, ต้นหน, ฝีพาย (คน พายเรือ). วิ. นิยจฺฉติ โปตมิติ นิยามโก. นิปุพฺโพ คมเน, ยมุ อุปรเม, ณวุ.
  38. มนุสฺส : (ปุ.) ผู้มีใจสูง, ชนผู้มีใจสูง วิ. มโน อุสฺโส อสฺสาติ มนุสฺโส. ชนผู้รู้ซึ่งเหตุผลและสภาวิมิใช่เตุ วิ. การณาการณํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งประโยชน์และภาวะมิใช่ประโยชน์ วิ. อตฺถานตฺถํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งธรรมอันเป็นกุศลและอกุศล วิ. กุสลากุสเล ธมฺเม มนตีติ มนุสฺโส. มนฺ ญาเณ, อุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งประโยชน์ของตนตามกำลัง วิ. ยถาพลํ อตฺตโน หิตํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้เป็นเหล่ากอของพระมนู, ชาย, มนุษย์, ประชาชน, คน. วิ. มนูโน อปจฺจํ มนุสฺโส. อสฺส ปัจ. โคตดตัท. อภิฯ กัจฯ ๖๗๓.
  39. สมีป : (วิ.) ใกล้, ใกล้เคียง. วิ. สํคโต อาโป ยสฺมึ ตํ สมีปํ, ลบ คน แปลงนิคคหิต เป็น ม อา เป็น อี.
  40. หตฺถาณึก หตฺถานึก : (นปุ.) หัตถานึก ช้าง ๓ เชือก แต่ละเชือกมีพลประจำ ๑๒ คน ชื่อ หัตถานึก, กองพลช้าง, กองทัพช้าง.
  41. หยาณึก หยานึก : (นปุ.) ม้า ๓ ตัว (เป็นอย่างต่ำ) ตัวหนึ่งมีคนคน ชื่อ หยานิก (หมู่กึกก้องด้วยม้า), กองทัพม้า.
  42. อกฺโขภินี : อิต. สังขยาจำนวนหนึ่งมีศูนย์ ๔๒ ตัว, กองทัพที่มีทหาร ๑๐๙,๓๕๐ คน ม้า ๖๕,๖๑๐ ตัว ช้าง ๒๑,๘๗๐ เชือก และพลรถ ๒๑,๘๗๐ คัน
  43. อย : ป., อิต. (คน) นี้
  44. กจฺจ : (ปุ.) คนสวย, คนงาม, คนสวยงาม. กจฺ ทิตฺติยํ, อ. แปลง จ เป็น จฺจ.
  45. กจฺจาน กจฺจายน กาติยาน : (ปุ.) คนเป็นเหล่า กอแห่งกัจจะ, คนเนื่องในวงศ์กัจจะ อิตถิ ลิงค์ลง อี การันต์.
  46. กจฺฉปุฏ : (ปุ.) คนหาบเร่.
  47. กจฺฉพนฺธน : (นปุ.) ายกระเบน, หางกระเบน. โจงกระเบน เป็นชื่อชายผ้าที่ม้วนลอดขา แล้วเหน็บไว้ข้างหลัง การนุ่งผ้าแบบนี้เป็น ผืนผ้าธรรมดา กว้าง ๑ หลา ยาว ๒.๕๐ เมตร สำหรับคนเล็กเตี้ยถ้าเป็นคนสูงใหญ่ กว้าง ๑ x ๓ เมตร เอาผืนผ้าโอบรอบตัว จับชายผ้าให้เสมอกัน แล้วห้อยลง เอาหัว เข่าหนีบไว้มิให้ผ้าเลื่อน มือรีดผ้ามาถึงเอว รวบริมผ้าทำเป็นจุกไขว้กันแล้วเหน็บไว้ที่ สะดือ เรียกว่าพกแล้วจับชายผ้าที่หนีบไว้ ขึ้นมาม้วนขวา ค่อย ๆ ม้วน ม้วนไปรีดไป ให้แน่น พอผืนผ้ากระชัยตัวดีแล้ว ดึงลอด ขา โดยยกขาขวา หรือขาซ้ายขึ้นเล็กน้อย ดึงชายสุดที่ม้วนไว้ขึ้นเหน็บไว้ที่กลางหลัง เรียกผ้าที่ม้วนไปเหน็บไว้ อย่างนี้ว่า ชาย กระเบน หรือหางกระเบน.
  48. กญฺจุกี : (ปุ.) คนใช้สำหรับฝ่ายใน, คนรับใช้ นางใน, คนแก่, เถ้าแก่. วิ. กญฺจุกํ โจฬํ, ตํโยคา กญฺจุกี. ณี ปัจ. ส. กญฺจุกิน.
  49. กฏฐผาลก : ค. คนผ่าฟืน, คนตัดฟืน
  50. กฏฐหารก : ป. คนหาฟืน
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-870

(0.0718 sec)