Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: คล้อง , then คลอง, คล้อง .

Eng-Thai Lexitron Dict : คล้อง, more than 7 found, display 1-7
  1. sling 1 : (VT) ; คล้อง ; Related:แขวน, ห้อย, โยง ; Syn:hoist, raise, weight
  2. arm in arm : (IDM) ; คล้องแขนกัน ; Related:เกี่ยวแขนกัน
  3. wreathe : (VT) ; คล้องพวงมาลัย ; Related:แขวนพวงหรีด, แขวนพวงมาลัย
  4. canal : (N) ; คลอง
  5. fichu : (N) ; ผ้าพันคอสามเหลี่ยมสตรีที่ใช้คล้องปิดไหล่และผูกปลายตรงอก ; Syn:muffler
  6. oxbow : (N) ; ไม้รูปตัวยูซึ่งคล้องรอบคอวัว
  7. padlock : (N) ; กุญแจแบบคล้องสายยู ; Syn:lock, shackle
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : คล้อง, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : คล้อง, more than 7 found, display 1-7
  1. คล้อง : (V) ; rhyme with ; Related:be consistent with ; Syn:คล้องจอง, รับ, คล้องกัน ; Def:รับกัน ; Samp:กลอนบทนี้ทั้งอักษรและสระคล้องกันลงตัวมาก
  2. คล้อง : (V) ; hook ; Related:lace, lasso, snare, be hold of, hang ; Syn:เกี่ยว, แขวน ; Def:เอาของที่เป็นวงหรือโค้งเกี่ยวหรือเกี่ยวกัน ; Samp:พอจอดจักรยานแล้วอย่าลืมคล้องโซ่กับเสาด้วยนะ
  3. คล้อง : (V) ; wear ; Related:put ; Syn:สวม ; Def:เอาของที่เป็นวงหรือเป็นบ่วงสวมสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ; Samp:พอประธานาธิบดีแห่งเคนยาลงจากเครื่องบิน คณะต้อนรับฝ่ายไทยก็เข้าไปคล้องพวงมาลัยให้
  4. รับ : (V) ; rhyme ; Related:sound like, harmonize ; Syn:คล้อง ; Def:คล้องจองกัน ; Samp:คำในกลอนที่เขาแต่งรับสัมผัสกันดีเหลือเกิน
  5. สวม : (V) ; wear ; Related:put on, don, have on, be dressed in ; Syn:คล้อง ; Def:เอาของที่เป็นวงหรือเป็นบ่วงสวมสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่พอดีกันหรือเล็กกว่า ; Samp:ทันทีที่เขาสวมแหวนให้เธอ น้ำตาเธอก็เอ่อขึ้นเต็มตา
  6. คล้องจอง : (V) ; rhyme ; Related:harmonize ; Syn:คล้อง, รับกัน ; Ant:ไม่รับกัน, ไม่เข้ากัน ; Samp:คำในบทกลอนบาทแรกจะต้องคล้องจองกับคำในบาทหลัง
  7. คลอง : (N) ; canal ; Related:waterway, watercourse ; Syn:ลำคลอง ; Samp:คลองแสนแสบเดี๋ยวนี้ไม่เหมือนเมื่อก่อน ; Unit:สาย, คลอง
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : คล้อง, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : คล้อง, more than 5 found, display 1-5
  1. คล้อง : [คฺล้อง] ก. เอาของที่มีลักษณะเป็นเส้น เป็นวงหรือเป็นบ่วง คาด เกี่ยว หรือสวมสิ่งใดสิ่งหนึ่งเข้า เช่น ผ้าคล้องคอ คล้องพวงมาลัย คล้องช้าง, เอาของที่เป็นวงหรือโค้งเกี่ยวหรือเกี่ยวกัน เช่น ลูกโซ่คล้องกัน คล้องแขน, รับกัน เช่น ชื่อคล้องกัน.
  2. จำนอง : ก. ผูก, คล้อง, หมายไว้, กําหนด, จําไว้, (โบ; กลอน) ประพันธ์, แต่ง, เช่น จึ่งจำนองโคลงอ้าง ถวายแด่บพิตรเจ้าช้าง. (ลอ). (กฎ) น. ชื่อสัญญาซึ่งบุคคล คนหนึ่ง เรียกว่า ผู้จํานอง เอาทรัพย์สินตราไว้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้รับจํานอง เพื่อเป็นประกันการชําระหนี้ โดยไม่ส่งมอบทรัพย์สินนั้นให้แก่ ผู้รับจํานอง. (แผลงมาจาก จอง).
  3. คลอง : [คฺลอง] น. ทางนํ้าหรือลํานํ้าที่เกิดขึ้นเองหรือขุดเชื่อมกับแม่นํ้าหรือทะเล; ทาง, แนว, เช่น คลองธรรม.
  4. ห่วงคล้องคอ : น. ความรับผิดชอบที่ผูกพันอยู่.
  5. หาห่วงมาคล้องคอ : (สํา) ก. รนหาภาระผูกพันมาใส่ตน.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : คล้อง, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : คล้อง, more than 5 found, display 1-5
  1. สัมมาปาสะ : “บ่วงคล้องไว้มั่น”, ความรู้จักผูกผสานรวมใจประชาชน ด้วยการส่งเสริมอาชีพ เช่น ให้คนจนกู้ยืมทุนไปสร้างตัวในพาณิชยกรรม เป็นต้น (ข้อ ๓ ใน ราชสังคหวัตถุ ๔)
  2. อารัญญกวัตร : ข้อปฏิบัติสำหรับภิกษุผู้อยู่ป่า, ธรรมเนียมที่ภิกษุผู้อยู่ป่าพึงถือปฏิบัติ ตามพุทธบัญญัติที่มาในวัตตขันธกะ จัดเป็นหัวข้อได้ดังนี้ ก) ๑) ภิกษุผู้อยู่ป่า พึงลุกขึ้นแต่เช้าตรู่ เอาถุงบาตรสวมบาตรแล้วคล้องบ่าไว้ พาดจีวรบนไหล่ สวมรองเท้า เก็บงำเครื่องไม้เครื่องดิน ปิดประตูหน้าต่าง แล้วลงจากเสนาสนะ (ที่พักอาศัย) ไป ๒) ทราบว่า “บัดนี้จักเข้าหมู่บ้าน” พึงถอดรองเท้า เคาะต่ำๆ แล้วใส่ถุงคล้องบ่าไว้ นุ่งให้เป็นปริมณฑล คาดประคดเอว ห่มสังฆาฏิซ้อนเป็น ๒ ชั้น กลัดลูกดุม ชำระบาตรแล้วถือเข้าหมู่บ้านโดยเรียบร้อยไม่รีบร้อน ไปในละแวกบ้านพึงปกปิกกายด้วยดี สำรวมด้วยดี ไม่เดินกระโหย่ง เมื่อจะเจ้านิเวศน์ พึงกำหนดว่า เรากจักเข้าทางนี้ จักออกทางนี้ ไม่พึงรีบร้อนเข้าไป ไม่พึงรีบร้อนออกมา พึงยืนไม่ไกลเกิดไป ไม่ใกล้เกินไป ไม่นานเกินไป ไม่กลับออกเร็วเกินไป เมื่อยืนอยู่ พึงกำหนดว่า เขาประสงค์จะถวายภิกษาหรือไม่ ฯลฯ เมื่อเขาถวายภิกษา พึงแหวกสังฆาฏิด้วยมือซ้าย น้อมบาตรเข้าไปด้วยมือขวา ใช้มือทั้ง ๒ ประคองบาตรรับภิกษา ไม่พึงมองดูหน้าสตรีผู้ถวาย พึงกำหนดว่า เขาประสงค์จะถวายแกงหรือไม่ ฯลฯ เมื่อเขาถวายภิกษาแล้ว พึงคลุมบาตรด้วยสังฆาฏิแล้วกลับโดยเรียบร้อย ไม่รีบร้อน เดินไปในละแวกบ้าน พึงปกปิดกายด้วยดี สำรวมด้วยดี ไม่เดินกระโหย่ง ๓) ออกจากบ้านแล้ว (หลังจากฉันและล้างบาตรแล้ว) เอาบาตรใส่ถุง คล้องบ่า พับจีวร วางบนศีรษะ สวมรองเท้าเดินไป ข) ภิกษุผู้อยู่ป่า พึงจัดเตรียมน้ำดื่มไว้ พึงจัดเตรียมน้ำใช้ไว้ พึงติดไฟเตรียมไว้ พึงจัดเตรียมไม้สีไฟไว้ พึงจัดเตรียมไม้เท้าไว้ ค) พึงเรียนทางนักษัตรไว้ (ดูดาวเป็น) ทั้งหมดหรือบางส่วน พึงเป็นผู้ฉลาดในทิศ
  3. กุศลกรรมบถ : ทางแห่งกรรมดี, ทางทำดี, ทางแห่งกรรมที่เป็นกุศล, กรรมดีอันเป็นทางนำไปสู่สุคติมี ๑๐ อย่าง คือก.กายกรรม ๓ ได้แก่ ๑.ปาณาติปาตา เวรมณี เว้นจากทำลายชีวิต ๒.อทินนาทานา เวรมณี เว้นจากถือเอาของที่เข้ามิได้ให้ ๓.กาเมสุมิจฉาจาร เวรมณี เว้นจากประพฤติผิดในกามข.วจีกรรม ๔ ได้แก่ ๔.มุสาวาทา เวรมณี เว้นจากพูดเท็จ ๕.ปิสุณาย วาจาย เวรมณี เว้นจากพูดส่อเสียด ๖.ผรุสาย วาจาย เวรมณี เว้นจากพูดคำหยาบ ๗.สัมผัปปลาปา เวรมณี เว้นจากพูดเพ้อเจ้อค.มโนกรรม ๓ ได้แก่ ๘.อนภิชฌา ไม่โลภคอยจ้องอยากได้ของเขา ๙.อพยาบาท ไม่คิดร้ายเบียดเบียนเขา ๑๐.สัมมาทิฏฐิ เห็นชอบตามคลองธรรม
  4. มโนทุจริต : ความประพฤติชั่วด้วยใจ, ความทุจริตทางใจมี ๓ อย่าง ๑.อภิชฌา ความเพ่งเล็งอยากได้จ้องจะเอาของเขา ๒.พยาบาท “ความขัดเคืองคิดร้าย ๓.มิจฉาทิฏฐิ ความเห็นผิดจากคลองธรรม (ข้อ ๓ ในทุจริต ๓)
  5. มโนสุจริต : ความประพฤติชอบด้วยใจ, ความสุจริตทางใจ มี ๓ อย่าง คือ ๑.อนภิชฌา ไม่โลภอยากได้ของเขา ๒.อพยาบาท ไม่พยาบาทปองร้ายเขา ๓.สัมมาทิฏฐิ เห็นชอบตามคลองธรรม (ข้อ ๓ ในสุจริต ๓)
  6. Budhism Thai-Thai Dict : คล้อง, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : คล้อง, more than 5 found, display 1-5
  1. พาหาปรมฺปรา : อิต. การคล้องแขนด้วยแขน, การควงแขนกัน
  2. เมขล : (นปุ.) สายรัดเอว, เครื่องประดับเอว, เครื่องประดับเอวสตรี, เข็มขัด, เข็มขัดหญิง, สังวาล ชื่อเครื่องประดับชนิดหนึ่ง ทำเป็นรูปสายสร้อย ใช้คล้องสะพายแล่ง. เมขฺ กฏิวิจิตฺเต, อโล. ศัพท์หลัง อา อิต.
  3. เมขลา : (อิต.) สายรัดเอว, เครื่องประดับเอว, เครื่องประดับเอวสตรี, เข็มขัด, เข็มขัดหญิง, สังวาล ชื่อเครื่องประดับชนิดหนึ่ง ทำเป็นรูปสายสร้อย ใช้คล้องสะพายแล่ง. เมขฺ กฏิวิจิตฺเต, อโล. ศัพท์หลัง อา อิต.
  4. วฏสก : ป. พวงมาลัยคล้องคอ
  5. อส : (ปุ.) บ่า, ไหล่, ส่วน, แผนก, คอต่อ, มุม, องสา, องศา, ขันธ์, วิ.อนติอมติวาเอเตนาติ อํโส. อนฺ ปาณเน, อมํ คมเน วา, โส, นสฺสมสฺสวานิคฺคหีตํ(แปลง นฺ หรือ มฺ เป็น นิคคหิต). อํสฺ สงฺฆาเต วา, อ.อังสะ ชื่อของผ้าที่ภิกษุสามเณรใช้คล้องเฉวียงบ่าจากบ่าซ้ายมาใต้แขนขวาก็มีรากศัพท์มาจากคำนี้สฺอํศอํส.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : คล้อง, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : คล้อง, 1 found, display 1-1
  1. คลองจักษุ : จกฺขุปถํ

(0.1355 sec)