Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: คล้องจอง .

Eng-Thai Lexitron Dict : คล้องจอง, 4 found, display 1-4
  1. rhyme with : (PHRV) ; คล้องจองกับ ; Related:สัมผัสกับ
  2. harmonious : (ADJ) ; ประสานกัน ; Related:คล้องจองกัน, กลมกลืนกัน
  3. unconformity : (N) ; ความไม่สอดคล้องกัน ; Related:ความไม่คล้องจอง, ความไม่เข้ากัน, ความไม่ต่อเนื่องกัน, ความไม่ประสานกัน ; Syn:nonconformity, noncompliance

Thai-Eng Lexitron Dict : คล้องจอง, more than 7 found, display 1-7
  1. คล้องจอง : (V) ; be consistent with ; Related:rhyme with, be compatible with ; Syn:สอดคล้อง ; Ant:ขัดกัน, ขัดแย้งกัน ; Samp:ผลสำรวจคล้องจองกับความต้องการของประชานชน
  2. คล้องจอง : (V) ; rhyme ; Related:harmonize ; Syn:คล้อง, รับกัน ; Ant:ไม่รับกัน, ไม่เข้ากัน ; Samp:คำในบทกลอนบาทแรกจะต้องคล้องจองกับคำในบาทหลัง
  3. คล้อง : (V) ; rhyme with ; Related:be consistent with ; Syn:คล้องจอง, รับ, คล้องกัน ; Def:รับกัน ; Samp:กลอนบทนี้ทั้งอักษรและสระคล้องกันลงตัวมาก
  4. เป็นจังหวะ : (ADV) ; rhythmically ; Syn:มีลีลา, มีสัมผัส, คล้องจอง ; Samp:ผู้เข้าประกวดอ่านสุนทรพจน์ทุกคนอ่านได้เป็นจังหวะชวนให้ประทับใจ
  5. สอดคล้อง : (V) ; match ; Syn:เข้ากัน, คล้องจอง, พ้อง ; Def:เข้ากันได้เหมาะเจาะ, ไปด้วยกันได้ ; Samp:คุณภาพกับราคาของสินค้าตัวนี้ ไม่ได้สอดคล้องกันเลย
  6. พ้องกัน : (ADJ) ; synonymous ; Syn:คล้องจองกัน ; Def:ที่ตรงกันหรือประจวบเหมือนกัน, ที่ไม่ขัดกัน ; Samp:ความหมายที่พ้องกันของเจดีย์กับสถูปทำให้คนไทยเกิดใช้ปะปนกัน
  7. พ้องกัน : (V) ; reach unanimity of ; Syn:คล้องจองกัน ; Def:ตรงกันหรือประจวบเหมือนกัน, ไม่ขัดกัน ; Samp:ความเห็นของเราพ้องกันเลยตกลงกันง่ายขึ้น
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : คล้องจอง, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : คล้องจอง, 7 found, display 1-7
  1. คล้องจอง : ก. สัมผัสกัน, มีเสียงสระเดียวกันหรือถ้ามีตัวสะกดก็ต้อง อยู่ในมาตราเดียวกัน เช่น มี-ปี จันทร์-ฉัน การ-บาน; ไม่ขัดกัน เช่น พยานให้การคล้องจองกัน.
  2. รับ : ก. ยื่นมือออกถือเอาสิ่งของที่ผู้อื่นส่งให้ เช่น รับของ รับเงิน, ถือเอา สิ่งของที่ผู้อื่นส่งมาให้เช่น รับจดหมาย รับพัสดุภัณฑ์, ไปพบ ณ ที่ที่ กำหนดเพื่ออำนวยความสะดวกหรือพาไปสู่ที่พัก, ต้อนรับ, เช่น ฉัน ไปรับเพื่อนที่ดอนเมือง ประชาชนไปรับนายกรัฐมนตรีกลับจากต่าง ประเทศ, โดยปริยายใช้แก่นามธรรมก็ได้ เช่น รับศีล รับพร; ให้คําตอบ ที่ไม่ปฏิเสธเช่น ตอบรับ รับเชิญ, ยอมสารภาพ เช่น รับผิด; ตกลงตาม เช่น รับทํา; คล้องจอง เช่น กลอนรับสัมผัสกัน; เหมาะเจาะ, เหมาะสม, เช่น หมวกรับกับหน้า; ขานตอบ เช่น กู่เรียกแล้วไม่มีคนรับ โทรศัพท์ ไม่มีผู้รับ; ต้าน เช่น รับทัพ รับศึก; ต่อเสียงเช่น ลูกคู่ร้องรับต้นบท.
  3. บังคับสัมผัส : น. กฎเกณฑ์ของการประพันธ์ที่บัญญัติให้ใช้คําคล้องจอง กัน มีหลายชนิด คือ สัมผัสนอก สัมผัสใน สัมผัสสระ สัมผัสอักษร.
  4. ฟัด : ก. กัดเหวี่ยงหรือสะบัดไปมา เช่น ถูกหมาฟัด แมวฟัดหนู, เหวี่ยง เช่น ถูกรถฟัดเสียสะบักสะบอม; ต่อสู้ เช่น เด็กฟัดกัน; กระทบ เช่น ท้ายเรือฟัดกัน นมยานฟัดกัน; คล้องจองกัน, สัมผัสกัน, เช่น กลอนฟัดกัน. ว. เรียกกุ้งแห้งที่เอาเปลือกออกแล้ว ว่า กุ้งฟัด, กุ้งฝัด ก็ว่า.
  5. รับสัมผัส : ก. เรียกคำใดคำหนึ่งของวรรคหลังแห่งคำประพันธ์ที่คล้องจอง กับคำส่งสัมผัสในวรรคหน้าว่า คำรับสัมผัส.
  6. ส่งสัมผัส : ก. เรียกคำสุดท้ายของวรรคหน้าแห่งคำประพันธ์ที่คล้องจอง กับคำใดคำหนึ่งในวรรคถัดไปว่า คำส่งสัมผัส.
  7. สัมผัส : ก. ถูกต้อง, แตะต้อง, กระทบกัน, เช่น มีใครมาสัมผัสไหล่ พยายาม ให้เท้าสัมผัสหญ้าเสียบ้าง จะได้มีสุขภาพดี สัมผัสมือกัน; คล้องจองกัน เช่น คําในกลอนบทนี้สัมผัสกันดี. น. การถูกต้องที่ให้เกิดความรู้สึก เช่น ประสาทสัมผัส, การแตะต้อง, การกระทบกัน, เช่น พอออกไป ข้างนอกก็สัมผัสอากาศเย็นเฉียบ; ความคล้องจองของถ้อยคํา เช่น ในนํ้ามีปลาในนามีข้าว; (วรรณ) ข้อบังคับที่ใช้ในฉันทลักษณ์เพื่อให้ เสียงรับกัน. (ป. สมฺผสฺส; ส. สํสฺปรฺศ).

Budhism Thai-Thai Dict : คล้องจอง, not found

ETipitaka Pali-Thai Dict : คล้องจอง, not found

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : คล้องจอง, not found

(0.0205 sec)