Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: จำแนกแยกแยะ, แยกแยะ, จำแนก , then จำนกยกย, จำแนก, จำแนกแยกแยะ, แยกแยะ .

Eng-Thai Lexitron Dict : จำแนกแยกแยะ, more than 7 found, display 1-7
  1. categorize : (VT) ; แยกแยะ ; Related:จำแนก
  2. peg : (VT) ; จำแนก ; Related:แยกแยะ
  3. discriminate : (VI) ; แยกแยะ ; Related:วินิจฉัย, เห็นความแตกต่าง ; Syn:recognize, identify
  4. resolve : (VI) ; แยกแยะ ; Related:แยก, แยกออก ; Syn:break down, separate
  5. resolve : (VT) ; แยกแยะ ; Related:แยก, แยกออก ; Syn:break down, separate
  6. tell apart : (PHRV) ; แยกแยะ ; Related:บอกความแตกต่าง ; Syn:tell from
  7. distinguish from : (PHRV) ; แยกแยะ...จาก
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : จำแนกแยกแยะ, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : จำแนกแยกแยะ, more than 7 found, display 1-7
  1. จำแนกแยกแยะ : (V) ; sort out ; Related:digest, separate, segregate, sift ; Syn:แยก, แยกแยะ, แบ่งแยก ; Samp:นักวิชาการได้จำแนกแยกแยะประเภทของผ้าทอพื้นบ้านของกลุ่มคนไทกลุ่มต่างๆ ไว้
  2. จำแนก : (V) ; classify ; Related:segregate, separate, divide ; Syn:แยก, แบ่ง, แบ่งแยก ; Ant:รวม, ผนวก ; Samp:บรรณารักษ์จำแนกหนังสือที่ซื้อมาออกเป็นหมวดๆ เพื่อจัดเข้าชั้น
  3. แยกแยะ : (V) ; distinguish ; Related:differentiate, tell the difference, determine ; Def:แบ่งแยกออกเป็นจำพวก ; Samp:้ยิ่งโตขึ้น เด็กยิ่งสามารถแยกแยะและเพิ่มความซับซ้อนได้
  4. ชำแหละ : (V) ; analyse ; Related:dissect, anatomize ; Syn:วิเคราะห์, จำแนกแยกแยะ ; Samp:ฝ่ายค้านชำแหละงบประมาณแผ่นดิน
  5. จำแนกประเภท : (V) ; classify ; Related:divide, group, sort, categorize ; Syn:แยกประเภท, แบ่งประเภท, จำแนก, จัดประเภท, แยกชนิด, แบ่งพวก ; Ant:รวมประเภท ; Def:แบ่งแยกออกเป็นชนิด หมู่ หรือเหล่า ; Samp:เราจำแนกประเภทฐานข้อมูล โดยคำนึงถึงการใช้งานเป็นหลัก
  6. การจำแนก : (N) ; classification ; Related:categorization ; Samp:ที่ประชุมมีมติให้เลขาฯ ทำการจำแนกข้อมูลรายละเอียดการขายโดยแยกเป็นแต่ละแผนกอย่างชัดเจน
  7. Thai-Eng Lexitron Dict : จำแนกแยกแยะ, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : จำแนกแยกแยะ, 4 found, display 1-4
  1. แยกแยะ : ก. กระจายออกให้เห็นชัดเจน เช่น แยกแยะปัญหาให้เห็นเป็น ประเด็น ๆ ไป.
  2. จำแนก : ก. แจก, แบ่ง, แยกออก, เช่น จําแนกออกเป็น ๓ อย่าง. (แผลงมาจาก แจก).
  3. จุดบอด : น. บริเวณที่เครื่องมือสื่อสารรับสัญญาณได้ไม่ชัด, บริเวณ หลังลูกตาที่ไม่รับแสง, บริเวณที่ควรจะมองเห็นแต่ไม่สามารถมองเห็น ได้เช่น ทางโค้งนี้มีจุดบอด ทำให้เกิดอุบัติเหตุรถชนกันบ่อย ๆ, จุดของ ปัญหาที่ไม่สามารถตัดสินใจหรือแยกแยะได้อย่างชัดเจนอาจจะเนื่องจาก ขาดความรู้ความเข้าใจอย่างถ่องแท้เป็นต้น, โดยปริยายหมายถึงสภาวะที่ ไม่สามารถแก้ปัญหาได้.
  4. เอย ๑ : คำกล่าวประกอบหลังคำจำแนกรายละเอียด เช่น ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ มีค่าน้ำเอย ค่าไฟเอย.

Budhism Thai-Thai Dict : จำแนกแยกแยะ, more than 5 found, display 1-5
  1. วิภัชชวาที : “ผู้กล่าวจำแนก”, “ผู้แยกแยะพูด”, เป็นคุณบทคือคำแสดงคุณลักษณะอย่างหนึ่งของพระพุทธเจ้า หมายความว่า ทรงแสดงธรรมแยกแจกแจงออกไป ให้เห็นว่า สิ่งทั้งหลายเกิดจากส่วนประกอบย่อยๆ มาประชุมกันเข้าอย่างไร เช่น แยกแยะกระจายนามรูปออกเป็นขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ เป็นต้น สิ่งทั้งหลายมีด้านที่เป็นคุณและด้านที่เป็นโทษอย่างไร เรื่องนั้นๆ มีข้อจริงข้อเท็จอะไรบ้าง การกระทำอย่างนั้นๆ มีแง่ถูกแง่ผิดแง่ที่ดีและแง่ไม่ดีประการใด เป็นต้น เพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจสิ่งนั้นเรื่องนั้นอย่างชัดเจน มองเห็นสิ่งทั้งหลายตามที่เป็นจริง เช่นมองเห็นความเป็นอนัตตา เป็นต้น ไม่มองอย่างตีคลุมหรือเห็นแต่ด้านเดียวแล้วยึดติดในทิฏฐิต่างๆ อันทำให้ไม่เข้าถึงความจริงแท้ตามสภาวะ
  2. กรรม ๑๒ : กรรมจำแนกตามหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการให้ผล พระอรรถกถาจารย์รวบรวมแสดงไว้ ๑๒ อย่างคือ หมวดที่ ๑ ว่าด้วยปากกาล คือ จำแนกตามเวลาที่ให้ผล ได้แก่ ๑.ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม กรรมให้ผลในปัจจุบัน คือในภพนี้ ๒.อุปปัชชเวทนียกรรม กรรมให้ผลในภพที่จะไปเกิด คือในภพหน้า ๓.อปราปริยเวทนียกรรม กรรมให้ผลในภพต่อๆไป ๔.อโหสิกรรม กรรมเลิกให้ผล หมวดที่ ๒ ว่าโดยกิจ คือจำแนกการให้ผลตามหน้าที่ ได้แก่ ๕.ชนกกรรม กรรมแต่งให้เกิด หรือกรรมที่เป็นตัวนำไปเกิด ๖.อุปัตถัมภกกรรม กรรมสนับสนุน คือเข้าสนับสนุนหรือซ้ำเติมต่อจากชนกกรรม ๗.อุปปีฬกกรรม กรรมบีบคั้น คือเข้ามาบีบคั้นผลแห่งชนกกรรมและอุปัตถัมภกกรรมนั้นให้แปรเปลี่ยนทุเลาเบาบางหรือสั้นเข้า ๘.อุปฆาตกกรรม กรรมตัดรอน คือกรรมแรงฝ่ายตรงข้ามที่เข้าตัดรอนการให้ผลของกรรม ๒ อย่างนั้นให้ขาดหรือหยุดไปทีเดียว หมวดที่ ๓ ว่าโดยปากทานปริยาย คือจำแนกตามลำดับความแรงในการให้ผล ได้แก่ ๙.ครุกกรรม กรรมหนัก ให้ผลก่อน ๑๐.พหุลกรรม หรือ อาจิณณกรรม กรรมทำมากหรือกรรมชิน ให้ผลรองลงมา ๑๑.อาสันนกรรม กรรมจวนเจียน หรือกรรมใกล้ตาย ถ้าไม่มี ๒ ข้อก่อนก็จะให้ผลก่อนอื่น ๑๒.กตัตตากรรม หรือ กตัตตาวาปนกรรม กรรมสักว่าทำ คือเจตนาอ่อน หรือมิใช่เจตนาอย่างนั้น ให้ผลต่อเมื่อไม่มีกรรมอื่นให้ผล
  3. กรรม ๒ : กรรมจำแนกตามคุณภาพ หรือตามธรรมที่เป็นมูลเหตุ มี ๒ คือ ๑.อกุศลกรรม กรรมที่เป็นอกุศล กรรมชั่ว คือเกิดจากอกุศลมูล ๒.กุศลกรรม กรรมที่เป็นกุศล กรรมดี คือเกิดจากกุศลมูล
  4. กรรม ๓ : กรรมจำแนกตามทวารคือทางที่ทำกรรม มี ๓ คือ ๑.กายกรรม การกระทำทางกาย ๒.วจีกรรม การกระทำทางวาจา ๓.มโนกรรม การกระทำทางใจ
  5. กรรมวิปากญาณ : ปรีชาหยั่งรู้ผลของกรรม แม้จะมีกรรมต่างๆ ให้ผลอยู่มากมายซับซ้อน ก็สามารถแยกแยะ ล่วงรู้ได้ว่าอันใดเป็นผลของกรรมใด
  6. Budhism Thai-Thai Dict : จำแนกแยกแยะ, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : จำแนกแยกแยะ, more than 5 found, display 1-5
  1. ปฏิภชติ : ก. แบ่ง, แจก, จำแนก
  2. ปฏิวิภชติ : ก. แบ่งออก, จำแนก, แจกออก
  3. ปวิภชติ : ก. แบ่ง, จำแนก
  4. ภาเชติ : ก. แบ่ง, แจก, จำแนก
  5. วิภชติ : ก. แบ่ง, จำแนก
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : จำแนกแยกแยะ, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : จำแนกแยกแยะ, 3 found, display 1-3
  1. จำแนก : สํวิภาค
  2. การจำแนกกรรม : กมฺมโวสฺสคฺโค [ป.]
  3. ยินดีในการจำแนกทาน : ทานสํวิภาครโต

(0.1750 sec)