Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ชั้นเรียน, เรียน, ชั้น , then ชน, ชั้น, ชั้นเรียน, เรียน .

Eng-Thai Lexitron Dict : ชั้นเรียน, more than 7 found, display 1-7
  1. read 1 : (VT) ; เรียน ; Related:เรียนรู้ ; Syn:get learning, study
  2. stratum : (N) ; ชั้น ; Related:ชั้นดิน, ชั้นหิน ; Syn:layer
  3. closet : (N) ; ชั้น ; Related:ตู้ ; Syn:cabinet, cupboard
  4. Eng-Thai Lexitron Dict : ชั้นเรียน, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ชั้นเรียน, more than 7 found, display 1-7
  1. ชั้นเรียน : (N) ; classroom ; Related:class ; Samp:ครูควรใช้สื่อการสอนรูปแบบต่างๆ ควบคู่กับการบรรยายในชั้นเรียน ; Unit:ชั้น
  2. ชั้น : (N) ; grade ; Related:year, form ; Syn:ชั้นเรียน ; Samp:น้องชายของฉันเรียนชั้นมัธยมปีที่ 1 ; Unit:ชั้น
  3. ชั้น : (N) ; shelf ; Related:stand, stall, rack ; Syn:หิ้ง, ชั้นวางของ ; Def:ที่สำหรับวางของอย่างหนึ่ง มีพื้นซ้อนกันคล้ายตู้ แต่ไม่มีบานเปิด ; Samp:ในห้องสมุดจะมีชั้นวางหนังสือแบ่งออกเป็นหมวดๆ ; Unit:ชั้น
  4. ชั้น : (N) ; floor ; Related:storey, story ; Samp:แม่ของฉันขายของอยู่ที่ชั้น 2 ของห้างบางลำพู ; Unit:ชั้น
  5. ชั้น : (N) ; class ; Related:grade, level, degree, rate, caste, series, row, rank ; Syn:ระดับ, อันดับ, ประเภท, ชั้น, วรรณะ ; Def:สิ่งที่ลดหลั่นกันเป็นขั้นๆ ; Samp:ศาลชั้นต้นได้พิจารณาคดีแล้วเมื่อเช้านี้
  6. เรียน : (V) ; learn ; Related:study ; Def:ศึกษาเพื่อให้เจนใจจำได้ให้เกิดความรู้ความเข้าใจหรือความชำนาญ ; Samp:นิสิตจากแต่ละคณะกำลังเรียนวิธีการเขียนโปรแกรมภาษาเบสิค
  7. เรียน : (V) ; inform ; Related:report, address ; Def:บอกให้ผู้ใหญ่ หรือนายทราบ ; Samp:เขาหาจังหวะเหมาะๆ เพื่อเข้าพบเจ้านาย แล้วเรียนให้ท่านทราบถึงปัญหาที่เกิดขึ้น
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ชั้นเรียน, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ชั้นเรียน, more than 5 found, display 1-5
  1. ชั้น : น. ที่สําหรับวางของอย่างหนึ่ง มีพื้นซ้อนกันคล้ายตู้แต่ไม่มี บานปิด; สิ่งที่ซ้อนลดหลั่นกันเป็นขั้น ๆ เช่น ฉัตร ๕ ชั้น; ขั้นที่ลดหลั่นกัน เช่น ชาติชั้นวรรณะ; ขั้น, ตอน, เช่น ชั้นนี้; ลําดับ เช่น มือคนละชั้น. ว. ที่ซ้อนทับกันเป็นแผ่น ๆ เช่น ขนมชั้น หินชั้น.
  2. เรียน : ก. เข้ารับความรู้จากผู้สอน, รับการฝึกฝนอบรมเพื่อให้เกิดความรู้ความ เข้าใจหรือความชำนาญ, เช่น เรียนหนังสือ เรียนวิชาความรู้, ฝึกให้เกิด ความรู้ความเข้าใจจนเป็นหรือมีความชำนาญ เช่น เขาเรียนแก้พัดลมด้วย ตนเอง; บอก, แจ้ง, (มักใช้แก่ผู้ที่อยู่ในตำแหน่งสูงกว่าหรือเสมอกัน) เช่น จึงเรียนมาเพื่อทราบ จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา เรียนผู้อำนวยการว่ามี คนขอพบ; คำขึ้นต้นจดหมายหรือที่ใช้ในการจ่าหน้าซองในหนังสือ ราชการที่เขียนถึงบุคคลทั่วไป หรือจดหมายส่วนตัวที่บุคคลธรรมดา เขียนถึงกันเพื่อแสดงความนับถือ.
  3. เรียน : ใช้เป็นคำประกอบหน้ากริยาอื่นเพื่อแสดงความสุภาพ เช่น เรียนถาม เรียนเชิญ.
  4. แบบ : น. สิ่งที่กําหนดให้ถือเป็นหลักหรือเป็นแนวดําเนิน, ตัวอย่าง เช่น ลอกแบบ เลียนแบบ; อย่าง เช่น คนแบบนี้; ตํารา เช่น แบบเรียน; รูปลักษณะ เช่น แบบเสื้อ แบบบ้าน; สิ่งที่แกะหรือสลักเป็นต้น ให้เป็นรอยลึกลงไป หรือนูนขึ้นมาเพื่อใช้เป็นแม่พิมพ์; ใบตอง ซ้อนกันหลาย ๆ ชั้น แล้วใช้มีดเจียนให้เป็นแผ่นกลม ใช้ไม้กลัด กลัดไว้ สําหรับรองขนมบางชนิด เช่น ขนมลืมกลืน หรือตัดให้เป็น รูปต่าง ๆ ใช้รองเย็บกลีบดอกไม้มีดอกบานบุรีเป็นต้น เย็บเป็น ดอกไม้ประดิษฐ์.
  5. ผล : น. ลูกไม้ เช่น ผลมะม่วง ผลมะปราง; สิ่งที่เกิดจากการกระทำ เช่น ผลแห่งการทำดี ผลแห่งการทำชั่ว; ประโยชน์ที่ได้รับ เช่น ทำนา ได้ผล เรียนได้ผล; ในพระพุทธศาสนา เป็นชื่อแห่งโลกุตรธรรม มี ๔ ชั้น คือ โสดาปัตติผล สกิทาคามิผล อนาคามิผล อรหัตผล, คู่กับ มรรค; ลักษณนามเรียกผลไม้ เช่น มะม่วง ๒ ผล มะปราง ๓ ผล; จำนวนที่ได้จากการคำนวณ เช่น ๕ กับ ๗ บวกกัน ได้ผล เท่ากับ ๑๒, ผลลัพธ์ ก็ว่า. (ป., ส.).
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ชั้นเรียน, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ชั้นเรียน, more than 5 found, display 1-5
  1. อารัญญกวัตร : ข้อปฏิบัติสำหรับภิกษุผู้อยู่ป่า, ธรรมเนียมที่ภิกษุผู้อยู่ป่าพึงถือปฏิบัติ ตามพุทธบัญญัติที่มาในวัตตขันธกะ จัดเป็นหัวข้อได้ดังนี้ ก) ๑) ภิกษุผู้อยู่ป่า พึงลุกขึ้นแต่เช้าตรู่ เอาถุงบาตรสวมบาตรแล้วคล้องบ่าไว้ พาดจีวรบนไหล่ สวมรองเท้า เก็บงำเครื่องไม้เครื่องดิน ปิดประตูหน้าต่าง แล้วลงจากเสนาสนะ (ที่พักอาศัย) ไป ๒) ทราบว่า “บัดนี้จักเข้าหมู่บ้าน” พึงถอดรองเท้า เคาะต่ำๆ แล้วใส่ถุงคล้องบ่าไว้ นุ่งให้เป็นปริมณฑล คาดประคดเอว ห่มสังฆาฏิซ้อนเป็น ๒ ชั้น กลัดลูกดุม ชำระบาตรแล้วถือเข้าหมู่บ้านโดยเรียบร้อยไม่รีบร้อน ไปในละแวกบ้านพึงปกปิกกายด้วยดี สำรวมด้วยดี ไม่เดินกระโหย่ง เมื่อจะเจ้านิเวศน์ พึงกำหนดว่า เรากจักเข้าทางนี้ จักออกทางนี้ ไม่พึงรีบร้อนเข้าไป ไม่พึงรีบร้อนออกมา พึงยืนไม่ไกลเกิดไป ไม่ใกล้เกินไป ไม่นานเกินไป ไม่กลับออกเร็วเกินไป เมื่อยืนอยู่ พึงกำหนดว่า เขาประสงค์จะถวายภิกษาหรือไม่ ฯลฯ เมื่อเขาถวายภิกษา พึงแหวกสังฆาฏิด้วยมือซ้าย น้อมบาตรเข้าไปด้วยมือขวา ใช้มือทั้ง ๒ ประคองบาตรรับภิกษา ไม่พึงมองดูหน้าสตรีผู้ถวาย พึงกำหนดว่า เขาประสงค์จะถวายแกงหรือไม่ ฯลฯ เมื่อเขาถวายภิกษาแล้ว พึงคลุมบาตรด้วยสังฆาฏิแล้วกลับโดยเรียบร้อย ไม่รีบร้อน เดินไปในละแวกบ้าน พึงปกปิดกายด้วยดี สำรวมด้วยดี ไม่เดินกระโหย่ง ๓) ออกจากบ้านแล้ว (หลังจากฉันและล้างบาตรแล้ว) เอาบาตรใส่ถุง คล้องบ่า พับจีวร วางบนศีรษะ สวมรองเท้าเดินไป ข) ภิกษุผู้อยู่ป่า พึงจัดเตรียมน้ำดื่มไว้ พึงจัดเตรียมน้ำใช้ไว้ พึงติดไฟเตรียมไว้ พึงจัดเตรียมไม้สีไฟไว้ พึงจัดเตรียมไม้เท้าไว้ ค) พึงเรียนทางนักษัตรไว้ (ดูดาวเป็น) ทั้งหมดหรือบางส่วน พึงเป็นผู้ฉลาดในทิศ
  2. นวโกวาท : คำสอนสำหรับผู้บวชใหม่, คำสอนสำหรับภิกษุสามเณรผู้บวชใหม่, ชื่อหนังสือแบบเรียนนักธรรมชั้นตรี เป็นพระนิพนธ์ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส
  3. มหาสาวก : สาวกผู้ใหญ่, สาวกชั้นหัวหน้า เรียนกันมาว่ามี ๘๐ องค์ ดู อสีติมหาสาวก
  4. วินัยมุข : มุขแห่งวินัย, หลักใหญ่ๆ หรือหัวข้อสำคัญๆ ทีเป็นเบื้องต้นแห่งพระวินัย หรือเป็นปากทางนำเข้าสู่วินัยเป็นชื่อหนังสือที่สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสทรงรจนาขึ้น เพื่อชี้ประโยชน์แห่งพระวินัยมุ่งช่วยให้พระภิกษุสามเณรตั้งอยู่ในปฏิบัติพองาม ผู้ไม่เคร่งจะได้รู้จักสำรวมรักษามรรยาทสมเป็นสมณะฝ่ายผู้เคร่งครัดเกินไปจะได้หายงมงาย ไม่สำคัญตนว่าดีกว่าผู้อื่น ตั้งรังเกียจผู้อื่นเพราะเหตุผลเล็กน้อย เพียงสักว่าธรรมเนียมหรือแม้ชักนำผู้อื่นในปฏิบัติอันดี ต่างจะได้อานิสงส์คือไม่มีวิปฏิสาร; ทรงมุ่งหมายเพื่อจะแต่งแก้หนังสือบุพพสิกขาวัณณนาของพระอมราภิรักขิต (อมร เกิด) เจ้าอาวาสวัดบรมนิวาส; จัดพิมพ์เป็น ๓ เล่ม ใช้เป็นแบบเรียนนักธรรมชั้นตรี ชั้นโท และชั้นเอก ตามลำดับ
  5. ภูมิ : 1.พื้นเพ, พื้น, ชั้น, ที่ดิน, แผ่นดิน 2.ชั้นของจิต, ระดับจิตใจ, ระดับชีวิต มี ๔ คือ ๑.กามาวจรภูมิ ชั้นที่ยังท่องเที่ยวอยู่ในกาม ๒.รูปาวจรภูมิ ชั้นที่ท่องเที่ยวอยู่รูป หรือชั้นของพวกที่ได้รูปฌาน ๓.อรูปาวจรภูมิ ชั้นที่ท่องเที่ยวอยู่อรูป หรือชั้นของพวกที่ได้อรูปฌาน ๔.โลกุตตรภูมิ ชั้นที่พ้นโลก หรือระดับพระอริยบุคคล
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ชั้นเรียน, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ชั้นเรียน, more than 5 found, display 1-5
  1. โอปุญฺฉน,- ปุญฺชน : นป. การนำมารวมกัน, การทำให้เป็นกอง, กอง, ชั้น, การทา, การถู, การเช็ด
  2. คหณ คหน : (วิ.) จับ, ยึด, ถือ, ถือเอา, กุม, เรียน, ชิด, ชัฏ, รก, รกชัฏ, รกเรี้ยว (รกมาก), ฟั่นเฝือ.
  3. ภูมิ : (อิต.) แผ่นดิน, ที่ดิน, พื้น, พื้นดิน, พื้นเพ, ปัญญา, ภาคพื้น, ขอบเขต, แดน, ชั้น, ลำดับ. วิ. ภวนฺติ อสฺสํ ภูตานีติ ภูมิ. ที่เกิด วิ. ภวนฺติ เอตฺถาติ ภูมิ. ภู สตฺตายํ, มิ.
  4. อวจร : ๑. นป. การท่องเที่ยวไป, ชั้น, แดน, บริเวณ, เขต, วิสัย ; ๒. ค. ซึ่งท่องเที่ยวไป, ซึ่งอยู่อาศัย
  5. ชน : (ปุ.) สัตว์, คน, ชน ( ผู้ยังกุศลและอกุศล ให้เกิด ). วิ. กุสลากุสลํ ชเนตีติ ชโน. ชนฺ ชนเน, อ. ส. ชน.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ชั้นเรียน, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ชั้นเรียน, more than 5 found, display 1-5
  1. การศึกษา, เรียน : กฺขา, อุคฺคหณํ, ปริยตฺติ
  2. เรียน (แบบธรรมดา) : ปริยาปุณาติ
  3. เรียนจริงจัง : อุคฺคณฺหาติ, ปริยาปุต, อุคฺคหิต
  4. เรียนนายร้อย : เสนายกานํ โยธานํ สิกฺขาคาโร
  5. เรียนสำเร็จ : สิปฺปานํ นิปฺผตฺตึ ปตฺโต, สิปฺปานํ อนฺตมนฺตคู, สิปฺปานํ อนฺตํ ปารคู
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ชั้นเรียน, more results...

(0.3607 sec)