Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เข้าเรียน, เรียน, เข้า , then ขา, เข้, เข้า, เข้าเรียน, เรียน .

Eng-Thai Lexitron Dict : เข้าเรียน, more than 7 found, display 1-7
  1. enter : (VT) ; เข้า ; Related:เข้ามา, เข้าสู่ ; Syn:come in, get in, go in
  2. enter : (VI) ; เข้า ; Related:เข้ามา, เข้าสู่ ; Syn:come in, get in, go in
  3. read 1 : (VT) ; เรียน ; Related:เรียนรู้ ; Syn:get learning, study
  4. Eng-Thai Lexitron Dict : เข้าเรียน, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : เข้าเรียน, more than 7 found, display 1-7
  1. เข้าเรียน : (V) ; attend class ; Related:take a lesson, go to class ; Syn:เข้าห้องเรียน, เข้าชั้นเรียน ; Ant:หนีเรียน ; Def:ไปเรียนหนังสือที่ห้องเรียน เป็นต้น ; Samp:พวกคุณเข้าเรียนไปก่อนแล้วกัน ผมขอกินข้าวก่อน
  2. เรียน : (V) ; inform ; Related:report, address ; Def:บอกให้ผู้ใหญ่ หรือนายทราบ ; Samp:เขาหาจังหวะเหมาะๆ เพื่อเข้าพบเจ้านาย แล้วเรียนให้ท่านทราบถึงปัญหาที่เกิดขึ้น
  3. เข้า : (V) ; get along with ; Related:deal with ; Syn:เข้ากัน ; Ant:แยก, แตกแยก ; Def:ถูกกันหรือลงรอยกันได้ดี ; Samp:เด็กๆ เข้ากับเพื่อนใหม่ได้ดี
  4. เข้า : (V) ; put in ; Related:pour in ; Ant:ออก ; Def:ใส่เข้าไว้, บรรจุเข้าไว้ ; Samp:หลังจากขายสินค้าชิ้นแรกได้ แม่ค้ารีบเก็บเงินเข้ากระเป๋าอย่างรวดเร็ว
  5. เข้า : (V) ; reach ; Related:get, approach, enter ; Syn:มาถึง ; Ant:ออก ; Def:อาการเคลื่อนสู่จุดหมาย, เคลื่อนมาสู่ที่ ; Samp:รถประจำทางจะเข้ามาที่สถานีตรงเวลาทุกวัน
  6. เรียน : (V) ; learn ; Related:study ; Def:ศึกษาเพื่อให้เจนใจจำได้ให้เกิดความรู้ความเข้าใจหรือความชำนาญ ; Samp:นิสิตจากแต่ละคณะกำลังเรียนวิธีการเขียนโปรแกรมภาษาเบสิค
  7. เข้า : (V) ; enter ; Related:get into, go into ; Syn:เข้าไป ; Def:อาการที่เคลื่อนไปข้างในหรือทำให้เคลื่อนไปข้างใน ; Samp:เด็กๆ รีบเข้าไปในบ้านก่อน อย่าให้โดนฝน เดี๋ยวไม่สบาย
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : เข้าเรียน, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : เข้าเรียน, more than 5 found, display 1-5
  1. เข้า : ก. อาการที่เคลื่อนไปข้างในหรือทําให้เคลื่อนไปข้างใน เช่น เข้าบ้าน เข้าถํ้า เอาหนังสือเข้าตู้; เคลื่อนมาสู่ที่, มาถึง, เช่น รถด่วนเข้า ๑๐ โมง; ใส่, บรรจุ, เช่น เข้าหีบ; ประสม, แทรก, เช่น เข้ายาดำ; รวม เช่น เข้าหุ้น เข้าทุน; รวม เป็นพวก เช่น เข้าพรรค เข้าแถว เข้าข้าง; ถูกกัน, ลงรอยกัน, ทําให้ลงรอยกัน, เหมาะเจาะ, เช่น เสียงเข้ากัน สีเข้ากัน เข้าไม้; เคลื่อนมาสู่ เช่น พระศุกร์เข้า; สิง เช่น เจ้าเข้า ผีเข้า; เริ่ม เช่น เข้าเรียน, เริ่มทํางาน เช่น โรงเรียนเข้า; เริ่มอยู่ ในภาวะ เช่น เข้าโรงเรียน เข้าทํางาน. ว. ตรงข้ามกับ ออก เช่น ทางเข้า ขาเข้า; ใช้ประกอบคําอื่นแสดงความหมายเร่งรัดหรือเน้นความว่า มากขึ้น เช่น เร็วเข้า คิดเข้า หนักเข้า ดึกเข้า นานเข้า.
  2. เรียน : ก. เข้ารับความรู้จากผู้สอน, รับการฝึกฝนอบรมเพื่อให้เกิดความรู้ความ เข้าใจหรือความชำนาญ, เช่น เรียนหนังสือ เรียนวิชาความรู้, ฝึกให้เกิด ความรู้ความเข้าใจจนเป็นหรือมีความชำนาญ เช่น เขาเรียนแก้พัดลมด้วย ตนเอง; บอก, แจ้ง, (มักใช้แก่ผู้ที่อยู่ในตำแหน่งสูงกว่าหรือเสมอกัน) เช่น จึงเรียนมาเพื่อทราบ จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา เรียนผู้อำนวยการว่ามี คนขอพบ; คำขึ้นต้นจดหมายหรือที่ใช้ในการจ่าหน้าซองในหนังสือ ราชการที่เขียนถึงบุคคลทั่วไป หรือจดหมายส่วนตัวที่บุคคลธรรมดา เขียนถึงกันเพื่อแสดงความนับถือ.
  3. เรียน : ใช้เป็นคำประกอบหน้ากริยาอื่นเพื่อแสดงความสุภาพ เช่น เรียนถาม เรียนเชิญ.
  4. เข้า : (โบ) น. ข้าว; ขวบปี.
  5. เข้าตู้ : (ปาก) ก. ลืมวิชาความรู้ที่ได้เรียนมา ใช้พูดว่า ``วิชาเข้าตู้'' ซึ่ง หมายความว่า วิชาที่เคยจําได้นั้นบัดนี้ลืมหมดแล้ว ยังคงอยู่แต่ใน ตําราที่เก็บไว้ในตู้.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : เข้าเรียน, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : เข้าเรียน, more than 5 found, display 1-5
  1. เข้ารีต : เปลี่ยนไปถือศาสนาอื่น (มักใช้แก่ศาสนาคริสต์), ทำพิธีเข้าถือศาสนาอื่น
  2. เข้าที่ : นั่งภาวนากรรมฐาน
  3. วังคีตะ : พระมหาสาวกองค์หนึ่ง เป็นบุตรพราหมณ์ในพระนครสาวัตถี ได้ศึกษาไตรเพทจนมีความชำนาญเป็นที่พอใจของอาจารย์ จึงได้เรียนมนตร์พิเศษชื่อฉวสีสมนตร์ สำหรับพิสูจน์ศีรษะซากศพ เอานิ้วเคาะหัวศพก็ทราบว่าผู้นั้นตายแล้วไปเกิดเป็นอะไร ที่ไหน ท่านมีความชำนาญในมนตร์นี้มาก ต่อมาได้เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า และได้แสดงความสามารถของตน แต่เมื่อเคาะศีรษะของผู้ปรินิพพานแล้วไม่สามารถบากคติได้ ด้วยความอยากเรียนมนตร์เพิ่มอีก จึงขอบวชในพระพุทธศาสนา ไม่นานก็ได้บรรลุพระอรหัต ได้รับยกย่องว่าเป็นเอตทัคคะในทางมีปฏิภาณ
  4. วินัยมุข : มุขแห่งวินัย, หลักใหญ่ๆ หรือหัวข้อสำคัญๆ ทีเป็นเบื้องต้นแห่งพระวินัย หรือเป็นปากทางนำเข้าสู่วินัยเป็นชื่อหนังสือที่สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสทรงรจนาขึ้น เพื่อชี้ประโยชน์แห่งพระวินัยมุ่งช่วยให้พระภิกษุสามเณรตั้งอยู่ในปฏิบัติพองาม ผู้ไม่เคร่งจะได้รู้จักสำรวมรักษามรรยาทสมเป็นสมณะฝ่ายผู้เคร่งครัดเกินไปจะได้หายงมงาย ไม่สำคัญตนว่าดีกว่าผู้อื่น ตั้งรังเกียจผู้อื่นเพราะเหตุผลเล็กน้อย เพียงสักว่าธรรมเนียมหรือแม้ชักนำผู้อื่นในปฏิบัติอันดี ต่างจะได้อานิสงส์คือไม่มีวิปฏิสาร; ทรงมุ่งหมายเพื่อจะแต่งแก้หนังสือบุพพสิกขาวัณณนาของพระอมราภิรักขิต (อมร เกิด) เจ้าอาวาสวัดบรมนิวาส; จัดพิมพ์เป็น ๓ เล่ม ใช้เป็นแบบเรียนนักธรรมชั้นตรี ชั้นโท และชั้นเอก ตามลำดับ
  5. อารัญญกวัตร : ข้อปฏิบัติสำหรับภิกษุผู้อยู่ป่า, ธรรมเนียมที่ภิกษุผู้อยู่ป่าพึงถือปฏิบัติ ตามพุทธบัญญัติที่มาในวัตตขันธกะ จัดเป็นหัวข้อได้ดังนี้ ก) ๑) ภิกษุผู้อยู่ป่า พึงลุกขึ้นแต่เช้าตรู่ เอาถุงบาตรสวมบาตรแล้วคล้องบ่าไว้ พาดจีวรบนไหล่ สวมรองเท้า เก็บงำเครื่องไม้เครื่องดิน ปิดประตูหน้าต่าง แล้วลงจากเสนาสนะ (ที่พักอาศัย) ไป ๒) ทราบว่า “บัดนี้จักเข้าหมู่บ้าน” พึงถอดรองเท้า เคาะต่ำๆ แล้วใส่ถุงคล้องบ่าไว้ นุ่งให้เป็นปริมณฑล คาดประคดเอว ห่มสังฆาฏิซ้อนเป็น ๒ ชั้น กลัดลูกดุม ชำระบาตรแล้วถือเข้าหมู่บ้านโดยเรียบร้อยไม่รีบร้อน ไปในละแวกบ้านพึงปกปิกกายด้วยดี สำรวมด้วยดี ไม่เดินกระโหย่ง เมื่อจะเจ้านิเวศน์ พึงกำหนดว่า เรากจักเข้าทางนี้ จักออกทางนี้ ไม่พึงรีบร้อนเข้าไป ไม่พึงรีบร้อนออกมา พึงยืนไม่ไกลเกิดไป ไม่ใกล้เกินไป ไม่นานเกินไป ไม่กลับออกเร็วเกินไป เมื่อยืนอยู่ พึงกำหนดว่า เขาประสงค์จะถวายภิกษาหรือไม่ ฯลฯ เมื่อเขาถวายภิกษา พึงแหวกสังฆาฏิด้วยมือซ้าย น้อมบาตรเข้าไปด้วยมือขวา ใช้มือทั้ง ๒ ประคองบาตรรับภิกษา ไม่พึงมองดูหน้าสตรีผู้ถวาย พึงกำหนดว่า เขาประสงค์จะถวายแกงหรือไม่ ฯลฯ เมื่อเขาถวายภิกษาแล้ว พึงคลุมบาตรด้วยสังฆาฏิแล้วกลับโดยเรียบร้อย ไม่รีบร้อน เดินไปในละแวกบ้าน พึงปกปิดกายด้วยดี สำรวมด้วยดี ไม่เดินกระโหย่ง ๓) ออกจากบ้านแล้ว (หลังจากฉันและล้างบาตรแล้ว) เอาบาตรใส่ถุง คล้องบ่า พับจีวร วางบนศีรษะ สวมรองเท้าเดินไป ข) ภิกษุผู้อยู่ป่า พึงจัดเตรียมน้ำดื่มไว้ พึงจัดเตรียมน้ำใช้ไว้ พึงติดไฟเตรียมไว้ พึงจัดเตรียมไม้สีไฟไว้ พึงจัดเตรียมไม้เท้าไว้ ค) พึงเรียนทางนักษัตรไว้ (ดูดาวเป็น) ทั้งหมดหรือบางส่วน พึงเป็นผู้ฉลาดในทิศ
  6. Budhism Thai-Thai Dict : เข้าเรียน, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : เข้าเรียน, more than 5 found, display 1-5
  1. อนุปาล : (ปุ.) การตามเลี้ยง, การตามรักษา, การตามระวัง, การคอยรักษา, การคอยระวัง.เรียกโรงเรียนที่รับเด็กก่อนเข้าเกณฑ์ประถมศึกษาว่าโรงเรียนอนุบาล เรียกเด็กที่เรียนว่าเด็กอนุบาล (เด็กที่ครูต้องคอยระวัง).
  2. คหณ คหน : (วิ.) จับ, ยึด, ถือ, ถือเอา, กุม, เรียน, ชิด, ชัฏ, รก, รกชัฏ, รกเรี้ยว (รกมาก), ฟั่นเฝือ.
  3. สิกฺขา : (อิต.) ปฏิปทาอันบุคคลพึงศึกษา, ปฏิปทาอันเขาพึงศึกษา, ทางดำเนินอันบุคคลพึงศึกษา, ข้อที่ควรศึกษา, ข้อปฏิบัติที่ควรศึกษา, วิชชาอันบุคคลพึงศึกษา, หัวข้อที่ควรศึกษา. วิ. สิกฺขิตพฺพนฺติ สิกฺขา, ปฏิปทาอันเขาย่อมศึกษา, ฯลฯ. วิ. สกฺขิยตีติ สิกฺขา, การศึกษา, การเล่าเรียน, การสำเหนียก (เอาใจใส่ กำหนดจดจำ). วิ. สิกขนํ สิกฺขา. อ ปัจ. อา อิต. พระพุทธศาสนาวางข้อ (เรื่อง) ที่ควรศึกษาไว้ ๓ คือ ศีล สมาธิ และปัญญา เรียกว่า ไตรสิกขา.
  4. มสารก : (ปุ.) เตียงมีแม่แคร่สอดเข้าในขา. วิ. ยสฺส ปาทจฺฉิทฺเท อฏนิ ปเวเสตฺวา ติฏฺฐติ โส มสารโก. มสฺ อามสเน อร ปัจ. ก สกัด.
  5. กฏจฺฉุภิกฺขามตฺตทาน : (นปุ.) การให้ซึ่งวัตถุ มีภิกษาทัพพีหนึ่งเป็นประมาณ. เป็น ทุ ตัป. มี วิเสสนบุพ. กับ., ฉ. ตุล. และ วิเสสนปุพ. กัม. เป็นท้อง. คำว่าหนึ่งเป็น คำเหน็บเข้ามา ไม่ใช่เอก ศัพท์.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : เข้าเรียน, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : เข้าเรียน, more than 5 found, display 1-5
  1. การศึกษา, เรียน : กฺขา, อุคฺคหณํ, ปริยตฺติ
  2. เรียน (แบบธรรมดา) : ปริยาปุณาติ
  3. เรียนนายร้อย : เสนายกานํ โยธานํ สิกฺขาคาโร
  4. เข้าสู่ครรภ์ : คพฺภุปาคมิ
  5. เรียนจริงจัง : อุคฺคณฺหาติ, ปริยาปุต, อุคฺคหิต
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : เข้าเรียน, more results...

(0.3831 sec)