Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทันตาเห็น, ทันตา, เห็น , then ทนตา, ทนฺตา, ทันต, ทันตะ, ทันตา, ทันตาเห็น, หน, เห็น .

Eng-Thai Lexitron Dict : ทันตาเห็น, more than 7 found, display 1-7
  1. clock 1 : (SL) ; เห็น ; Related:สังเกตเห็น
  2. see : (VI) ; เห็น ; Related:รับรู้, เห็นด้วยตา, มองเห็น, รู้ด้วยตา
  3. see : (VT) ; เห็น ; Related:รับรู้, เห็นด้วยตา, มองเห็น, รู้ด้วยตา ; Syn:visualize, behold, know, recognize
  4. clap on 2 : (PHRV) ; เห็น ; Related:ดู ; Syn:lay on, set on
  5. twig 2 : (VT) ; เห็น
  6. Eng-Thai Lexitron Dict : ทันตาเห็น, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ทันตาเห็น, more than 7 found, display 1-7
  1. ทันตาเห็น : (ADV) ; immediately ; Related:suddenly, promptly ; Syn:ในชาตินี้, ในเวลานั้น, ทันตา ; Samp:การข่าวอ่อนตัวลงอย่างทันตาเห็น
  2. ทันตา : (ADV) ; immediately ; Related:in time, be in time to be seen in one's life ; Syn:ในชาตินี้, ในเวลานั้น, ทันตาเห็น ; Def:ทันที่ตาเห็นในปัจจุบัน ; Samp:เขากำลังทำบาป บาปก็เลยตามสนองทันตาในชาตินี้
  3. มลัก : (V) ; see ; Related:behold ; Syn:เห็น
  4. เห็นคุณค่า : (V) ; appreciate ; Related:gratify, acknowledge ; Syn:เห็นค่า ; Ant:ไม่เห็นคุณค่า ; Def:เล็งเห็นถึงสิ่งดีของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ; Samp:ปัจจุบันนี้ ผู้คนเริ่มเห็นคุณค่าของยาสมุนไพรมากขึ้น
  5. เห็นควร : (V) ; see as appropriate ; Related:view as proper, approve of ; Syn:เห็นสมควร ; Def:เห็นว่ามีความเหมาะสม ; Samp:ที่ประชุมเห็นควรส่งเรื่องให้คณะรับมนตรีพิจารณา
  6. เห็นควร : (V) ; see as appropriate ; Related:view as proper, approve of ; Syn:เห็นสมควร ; Def:เห็นว่ามีความเหมาะสม ; Samp:ที่ประชุมเห็นควรส่งเรื่องให้คณะรับมนตรีพิจารณา
  7. เห็นสมควร : (V) ; view as proper ; Related:see as appropriate, consider approve, see as being what should be/happen ; Syn:เห็นควร ; Def:เห็นว่ามีความเหมาะสม ; Samp:ผู้จัดการมีอิสระในการบริหารกิจการ และสามารถจ่ายเงินเดือนให้แก่พนักงานตามจะเห็นสมควร
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ทันตาเห็น, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ทันตาเห็น, more than 5 found, display 1-5
  1. ทันตา : ว. ทันที่ตาเห็นในปัจจุบัน, ในชาตินี้, ในเวลานั้น, ทันตาเห็น ก็ว่า.
  2. เห็น : ก. อาการของตาที่ประสบรูป, ปรากฏแก่ตา, ปรากฏแก่ใจ, คิดรู้.
  3. ทิฏฐะ, ทิฐ- : [ทิดถะ-] (แบบ) ว. อันบุคคลเห็นแล้ว, ทันตาเห็น. (ป. ทิฏฺ?; ส. ทฺฤษฺฏ).
  4. เห็นกงจักรเป็นดอกบัว : (สํา) ก. เห็นสิ่งที่ไม่ถูกต้องว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้อง, เห็นผิดเป็นชอบ ก็ว่า.
  5. เห็นแก่ : ก. มุ่งเฉพาะเพื่อ เช่น เห็นแก่ตัว เห็นแก่พวก เห็นแก่ได้.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ทันตาเห็น, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ทันตาเห็น, more than 5 found, display 1-5
  1. เห็นชอบ : ดู สัมมาทิฏฐิ
  2. ทิฏฐธัมมเวทนียกรรม : กรรมอันให้ผลในปัจจุบัน, กรรมทั้งที่เป็นกุศลและอกุศล ซึ่งให้ผลทันตาเห็น (ข้อ ๑ ใน กรรม ๑๒)
  3. ดวงตาเห็นธรรม : แปลจากคำว่า ธรรมจักษุ หมายถึงความรู้เห็นตามเป็นจริง ด้วยปัญญาว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งหมดมีความดับเป็นธรรมดา ดู ธรรมจักษุ
  4. หน : ทิศ เช่น หนบูร (ทิศตะวันออก)
  5. ปฏิโลม : ทวนลำดับ, ย้อนจากปลายมาหาต้น เช่นว่า ตจปัญจกกัมมัฏฐาน จากคำท้ายมาหาคำต้นว่า ตโจ ทันตา นขา โลมา เกสา (ตรงข้ามกับอนุโลม ตามลำดับว่า เกสา โลมา......), สาวเรื่องทวนจากผลเข้าไปหาเหตุ เช่น วิญญาณเป็นผล มีเพราะสังขาร เป็นเหตุ, สังขารเป็นผล มีเพราะอวิชชาเป็นเหตุ เป็นต้น
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ทันตาเห็น, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทันตาเห็น, more than 5 found, display 1-5
  1. ทิฏฺฐธมฺมิก : (วิ.) อันเป็นไปในปัจจุบัน, อันเป็นไปในทิฏฐธรรม (ทันตาเห็น). วิ. ทิฏฺฐธมฺเม ปวตฺตํ ทิฏฺฐธมฺมิกํ. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  2. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  3. ทิฏฺฐธมฺมเวทนียกมฺม : (นปุ.) กรรมอัน... พึง รู้ (เสวย) ในธรรมอัน...เห็นแล้ว, กรรมให้ผลในภพนี้, กรรมให้ผลในปัจจุบัน, กรรมให้ผลทันตาเห็น, กรรมให้ผลเห็น ทันตา.
  4. เปกฺข : (วิ.) ดู, เห็น, ปรากฏ, เพ่ง, มุ่ง, จดจ่อ. ป+อิกฺขฺ+ณ ปัจ.
  5. ตุมฺหาทิส ตุมฺหาทิสี : (วิ.) ผู้เช่นท่าน, เห็น ราวกะว่าซึ่งท่าน, เห็นราวกะว่าท่าน. วิ. ตุมฺห วิย ทิสฺสตีติ ตุมฺหาทิโส ตุมฺหาทิสี วา. ตุมฺหบทหน้า ทิสฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. รูปฯ ๕๗๒.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ทันตาเห็น, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ทันตาเห็น, more than 5 found, display 1-5
  1. เห็น : ทิฏฺฐฺ, ทสฺสนํ, ปสฺสนํ, ปสฺสติ, อเวกฺขติ, ทิสฺสติ [อิ.]
  2. เห็นด้วย, ถูกต้อง : สเมติ
  3. เห็นปัจจัย ๔ : ปจฺจเวกฺขนฺโต
  4. เห็นแล้ว : อทฺทกฺขิ
  5. เห็นสังขาร : สมฺมสนฺโต
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ทันตาเห็น, more results...

(0.3495 sec)