Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ที , then ทิ, ที .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ที, 226 found, display 1-50
  1. ที : (ปุ.?) การเปลือง, การเสื่อม, การสิ้น, ความเปลือง, ฯลฯ. ที ขเย, อ. ส. ที.
  2. สินฺทิ, - ที : อิต. มะพลับ, อินทผลัม
  3. ธุตวาท, - ที : ป. ผู้กล่าวสอนเรื่องธุดงค์, ผู้ส่งเสริมการปฏิบัติธุดงค์
  4. ทีปงฺกร : (วิ.) ผู้ทำซึ่งที่พึ่ง วิ. ทีปํ กโรตีติ ทีปงฺกโร. ทีปปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ. ลง นุ อาคมในท่ามกลาง แล้วแปลงเป็นนิคคหิต แล้วแปลงนิคคหิตเป็น งฺ รูปฯ ๕๔๙.
  5. ทีปติตฺติร : ป. ดู ทีปกกกฺกร
  6. ทีธิติ : (อิต.) ความรุ่งเรือง, รัศมี, แสง, แสงสว่าง. วิ. ทีธฺยตีติ ทีธีติ. ทีธิ ทิตฺติยํ, ติ. ทิปฺปตีติ วา ทีธีติ. ทิปฺ ทิตฺติยํ, ติ, ปสฺส โธ, อิอาคโม, ทีโฆ. ส. ทีธีติ.
  7. ทีปก : (ปุ.) เกาะ. ทีป ลง ก สกัด. เกาะเล็ก, เกาะน้อย. ทีป ลง ก ใน อรรถ อฺปป.
  8. ทีปกกกฺกร : ป. นกกระทาต่อ
  9. ทีปกติตฺติร : (ปุ.) นกกระทาต่อ.
  10. ทีปกปกฺขี : ป. นกต่อ
  11. ทีปกปลฺลิกา : (อิต.) ตะคัน ชื่อเครื่องปั้นดิน เผา รูปคล้ายจาน สำหรับวางเทียนอบ หรือเผากำยาน หรือใช้ใส่น้ำมันตามไฟ อย่างตะเกียง, โคมตั้ง.
  12. ทีปกมิค : (ปุ.) เนื้อสำหรับต่อ, เนื้อต่อ.
  13. ทีปกสิขร : (ปุ. นปุ.) หัวแหลมแห่งเกาะ,ปลายแห่งเกาะ,ท้ายเกาะ.
  14. ทีปน : ค., นป. ซึ่งส่อง, ซึ่งแสดง, ซึ่งอธิบาย, การแสดง, การชี้แจง, การอธิบาย
  15. ทีปรุกฺข : (ปุ.) คบ ชื่อของใช้สำหรับจุดไฟให้สว่าง, คบไฟ, โคมมีด้าม, ประทีปมีด้าม.
  16. ทีปาลย : ป. สถานที่พำนัก, ที่พักผ่อน
  17. ทีปาโลก : ป. แสงประทีป, แสงตะเกียง
  18. ทีปิตุ : ป. บุคคลผู้แสดง, ผู้ชี้แจง, ผู้อธิบาย
  19. ทีเปติ : ก. จุดไฟ, ส่อง, ส่องแสง, บ่งถึง, ชี้แจง, อธิบาย
  20. ทีโป : (ปุ.) ประทีป (ไฟที่มีแสงสว่างเช่น ตะเกียงเป็นต้น). ไฟ, แสงไฟ, โคม, โคมไฟ, ตะเกียง. ทิปฺ ทิตฺติยํ, โณ. ส. ทีป.
  21. กุรุนที : อิต. อรรถกถาวินัย, ชื่อกุรุนที
  22. โกมุที : (อิต.) แสงจันทร์, รัศมีพระจันทร์. กุมุทสฺสายํ วิกาโร โกมุที. ณี. อภิฯ
  23. ตนฺที : (อิต.) ความหลับ, ฯลฯ อิ ปัจ. เป็น ตนฺทีบ้าง.
  24. ตาทิส ตาทิกฺข ตาริส ตาที : (วิ.) ผู้เช่นนั้น, ผู้คงที่. วิ. ต มิว นํ ปสฺสตีติ ตาทิโส (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นดังว่าบุคคลนั้น ). โ ส วิย ทิสฺสตีติ ตาทิโส ( เห็นราวกะว่าคนนั้น ). ต+ทิสฺ+กฺวิ ปัจ. แปลงที่สุดธาตุเป็น ส กฺข อี ทีฆะ อ ที่ ต เป็น อา ศัพท์ที่ ๓ แปลง ทฺ เป็น รฺ รูปฯ ๕๗๒ ส่วนโมคฯ สมาส กัณฑ์๘๘ ตั้ง ตุมฺห เป็นบทหน้า แปลว่า ผู้เช่นนบทหน้า ท่าน วิ. ตฺวมิว ทิสฺสตีติ ตาทิโส ตาทิกฺโข วา ตาริโส วา ตาที วา (เห็นราวกะว่าท่าน). แปลง ตฺวํ เป็น ตา.
  25. ทีเปยฺย : (นปุ.) วัตถุอันเป็นอุปกรณ์แก่ ประทีป, วัตถุเป็นเครื่องเกื้อกูลแก่ประทีป, เครื่องประทีป. เครื่องคือของ สิ่งของ สิ่ง ประกอบ หรือของ ที่เข้ากับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง. วิ. ปทีปสฺส หีตํ ปทีเปยฺยํ. เอยฺย ปัจ. รูปฯ ๓๖๒ ลง เณยฺย ปัจ.
  26. ยาทิส ยาทิกฺข ยาริส ยาที : (วิ.) ผู้เช่นใด, ฯลฯ. วิ. ย มิว นํ ปสฺสติ โย วิย ทิสฺสตีติ วา ยาทิโส ยาทิกฺโข วา ยารฺโส วา ยาที วา. รูปฯ ๕๗๒.
  27. สาทิส สาทิกฺข สาริกฺข สาริส สาที : (วิ.) เหมือน, เหมือนกัน, คล้าย, คล้ายกัน, เช่นกัน. วิ. สมานํ กตฺวา นํ ปสฺสติ สมาโน วิย ทิสสตีติ สาทิโส สาทิกฺโข วา สริกฺดข วา สาริโส วา สาที วา. สมานปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, กฺวิ. แปลง สมาน เป็น ส ทีฆะ อ ที่ ส เป็น อา ลง อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แล้วแปลงที่สุดธาตุเป็น กฺข อี แปลง ทฺ อักษรต้นธาตุเป็น รฺ บ้าง.
  28. สารที : (อิต.) ดองดึง, พลับพลึง. วิ. สรทกาเล สญฺชาตฺตา สารที. ณี ปัจ.
  29. อาทีนว : (ปุ.) โทษอันยังทุกข์ให้เป็นไปโดยยิ่ง, โทษเครื่องถึงทุกข์, โทษ.วิ.อา ภุโสทีนํวายติคมยตีตฺยาทีนโว.อาทีนปุพฺโพ, วิคมเน, อ.อาทีนํวาติอธิคจฺฉติเอเตนาติวาอาทีนโว.อาทีนปุพฺโพ, วาอาทาเน, อ.หรือตั้งอาปุพฺโพ, ทีนฺทุคฺคตภาเว, โว. ส.อาทีนว.
  30. อุทีจิ : (อิต.) ทิศเหนือ, ทิศอุดร. วิ. อุทฺธํ อํจติ ยสฺสํ สา อุทีจิ. ยสฺสํ วา รวิ สีตวิโยคตํ ทตฺวา วญฺจติ สา อุทีจิ. อุทฺธํปุพฺโพ, อํจฺ คมเน, อิ. ส. อุทีจิ.
  31. เอกปทิก เอกปที : (ปุ.) ทางมีปกติเดินได้คน เดียว, ทางแคบ, ทางน้อย. วิ. คจฺฉตํ เอโก อสหาโย ปาโท ยสฺสํ น นิสินฺนสฺเสว ยมโกติ เอกปที. อี ปัจ. ศัพท์ต้นรัสสะ อี ก สกัด.
  32. ทิ : ค. สอง (ใช้เฉพาะในรูปสมาส เช่น ทิปท, ทิคุณ เป็นต้น)
  33. กามนนฺที : ค. ผู้เพลิดเพลินในกาม
  34. กีทิส กีทิกฺข กีริส กีริกฺข กีที : (วิ.) เช่นไร, ผู้เช่นไร. วิ. กมิว นํ ปสฺสตีติ กีทิโส (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นราวกะบุคคลไร, ...ราวกะว่า ใคร). โก วิย นํ ปสฺสตีติ กีทิโส วา (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นราวกะ อ. ใคร). กีปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, กฺวิ. ลบ นิคคหิต ทีฆะ ศัพท์ที่ ๒ และ ๔ แปลง ส เป็น กฺข ศัพท์ที่ ๓ และ ๔ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๕ แปลง ส เป็น อี รูปฯ ๕๗๒. โมคฯ สมาสกัณฑ์ ๘๗ ลง ริกฺข ปัจ.
  35. กุญฺชนที : อิต. ห้วย, ซอกเขาที่มีน้ำไหล
  36. ขุรมทฺที : ค. ช่างตัดผม
  37. คารยฺหวจ, คารยฺหวาที : ค. ผู้พูดคำที่น่าติเตียน
  38. จาตุทฺทีปก, - ปิก : ดู จตุทฺทีปิก
  39. จิตฺตปมทฺที : ค. ซึ่งย่ำยีจิตใจ, ซึ่งบีบคั้นจิตใจ
  40. ตณฺหานที : อิต. แม่น้ำคือตัณหา
  41. ตตฺรตตฺราภินนฺทีนิ : (วิ.) เพลิดเพลินใน อารมณ์นั้น ๆ.
  42. ตาทิน, ตาทิส, ตาทิสก, ตาที : ค. ซึ่งคงที่, ซึ่งเป็นเช่นนั้น, ซึ่งเหมือนอย่างนั้น
  43. ตุนฺทกูปี ตุนฺทิล ตุนฺที : (ปุ.) อวัยวะอยู่ที่พุง, สะดือ.
  44. ทฬิทฺที : (อิต.) หญิงเข็ญใจ, ฯลฯ.
  45. ทายที : (อิต.) ลูกสาว, ลูกหญิง, บุตรี.
  46. นนฺที : (อิต.) แปลเหมือน นนฺทิ เป็น ปุ. ก็มี. อี ปัจ.
  47. นิคฺคยฺหวาที : ค. ผู้พูดตำหนิ, ผู้พูดข่ม, ผู้กล่าวโทษ
  48. นิสาที : ค. ผู้นอน
  49. ปกฺขนฺที : ป. ผู้แล่นไป, คนขี้คุย, คนคุยโต
  50. ปญฺจนที : อิต. แม่น้ำห้าสาย (คงคา, ยมุนา, อจิรวดี, สรภู, มหี)
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-226

(0.0601 sec)